Page 70 -
P. 70
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และ 2) สภาวะเศรษฐกิจของโลกที หดตัว ซึ งก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่ออุตสาหกรรมที เกี ยวข้องกับ
ยางพารา จากความแตกต่างของสภาวะเศรษฐกิจโลกในช่วงก่อนและหลังปี 2532 แทบจะกล่าวได้ว่า สาเหตุ
ที อาจทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคายางใน ปี 2532 คือการเปลี ยนผ่านของสภาวะเศรษฐกิจ
โลกจากขยายตัวสู่หดตัว
เมื อพิจารณาราคายางในช่วงประมาณเดือนมิถุนายน 2537 พบว่าราคายางในช่วงเวลาดังกล่าวเริ ม
ปรับตัวเพิ มขึ นจากช่วงเวลาก่อนหน้า อย่างไรก็ดี จากรูปที 4.4 จะเห็นว่าในช่วงระหว่างปี 2533 – 36 ราคา
ยางโดยเฉลี ยไม่ค่อยปรับตัวสูงขึ นมากนัก หากแต่มีการปรับตัวลดลงในหลายช่วงเวลา โดยช่วงเวลาดังกล่าว
หลายประเทศ อาทิ ประเทศในยุโรปและญี ปุ่น ประสบกับสภาวะเศรษฐกิจตกตํ า (economic recession) ซึ ง
ส่งผลกระทบเชิงลบต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ตลอดจนอุตสาหกรรมยางรถยนต์ อันนําไปสู่การลดลงของอุป
สงค์ต่อยางพารา อย่างไรก็ดี ในปี 2537 ประเทศดังกล่าวเริ มมีการฟื นตัวจากสภาวะเศรษฐกิจที ซบเซา ซึ ง
นําไปสู่การเพิ มขึ นของอุปสงค์และราคาของยางพารา (Food and Agricultural Organization, 1994) เมื อ
พิจารณา รูปที 4.2 และรูปที 4.5 จะพบว่าอัตราการเติบโตของ GDP โลกและมูลค่าการนําเข้ายางพาราของทั ง
สามประเทศสอดคล้องกับเหตุการณ์ข้างต้น กล่าวคือ เริ มลดลงในปี 2533 และปรับตัวเพิ มขึ นในปี 2537
ฉะนั น อาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยที น่าจะเป็นสาเหตุที ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคายางในช่วง
ประมาณเดือนมิถุนายน 2537 คือ การฟื นตัวของสภาวะเศรษฐกิจโลก อันนําไปสู่การฟื นตัวของ
อุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสากรรมยางรถยนต์ของประเทศผู้บริโภคยางพาราที สําคัญ
สําหรับเดือนเมษายน 2542 ราคายางหลังจากช่วงเวลาดังกล่าวมีลักษณะเพิ มสูงขึ น (รูปที 4.4)
เช่นเดียวกันกับมูลค่าการนําเข้าของทั งสามประเทศ (รูปที 4.5) โดยมูลค่าการนําเข้ายางพาราจากประเทศจีน
เริ มเพิ มขึ นสูงกว่าอีกสองประเทศ อาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยที อาจนําไปสู่การเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคา
ยางพาราในช่วงเดือนเมษายน 2542 คือ การที จีนมีบทบาทมากขึ นในการนําเข้ายางพาราของโลกหรือมี
บทบาทต่อการกําหนดอุปสงค์ยางพาราโลกมากขึ น
เช่นเดียวกับช่วงเดือนเมษายน 2542 ในเดือนมิถุนายน 2548 ราคายางพารายังคงปรับตัวสูงขึ น (รูป
ที 4.4) ในขณะที มูลค่าการนําเข้าของทั งสามประเทศก็เพิ มสูงขึ นเช่นกัน โดยเฉพาะประเทศจีนที มูลค่าการ
นําเข้ายางพาราสูงกว่าทั งสหรัฐ ฯ และญี ปุ่นอย่างเห็นได้ชัด (รูปที 4.5) อีกทั งในช่วงเวลาดังกล่าว ราคานํ ามัน
ปิโตรเลียมดิบปรับตัวสูงขึ นซึ งน่าจะส่งผลให้ราคายางสังเคราะห์เพิ มสูงขึ นด้วย เหล่านี ส่งผลให้อุปสงค์ต่อ
ยางพาราเพิ มสูงขึ น อย่างไรก็ตาม ในขณะที อุปสงค์ต่อยางพารายังคงขยายตัวอย่างต่อเนื อง พบรายงานว่า
ในช่วงเวลาดังกล่าว ผลผลิตยางพาราของไทยออกสู่ตลาดน้อย เนื องจากพื นที ปลูกยางในภาคใต้ซึ งเป็น
แหล่งผลิตรายใหญ่ของประเทศมีฝนตกชุกในหลายพื นที ทําให้เกษตรกรไม่สามารถกรีดยาง (RYT9, 2549)
4-18