Page 79 -
P. 79
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ราคาลดลงในปี 2554 และสูงขึ นอีกครั งในปี 2555 (แต่ไม่สูงเท่ากับปี 2553) อาจเป็นไปได้ว่า ระดับราคาที สูง
มากในช่วงก่อนหน้า นั นคือช่วงปี 2553 เป็นอิทธิพลมาจากวิกฤตการณ์อาหาร อันนําไปสู่การเปลี ยนแปลง
พฤติกรรมการบริโภคและการผลิตตลอดจนการจัดการสินค้าคลังในหลาย ๆ ประเทศหลังจากนั น ถึงแม้ว่า
ราคานํ ามันปาล์มภายในประเทศไทยจะอ้างอิงกับราคานํ ามันปาล์มในตลาดมาเลเซีย และสัดส่วนการส่งออก
น้อยเมื อเทียบกับประเทศส่งออกปาล์มนํ ามันรายอื น ๆ การผลิตปาล์มนํ ามันของประเทศไทยเป็นการผลิตที
เน้นการบริโภคภายในประเทศเป็นหลัก ฉะนั นปัจจัยภายในประเทศที อาจนําไปสู่การเปลี ยนแปลง
โครงสร้างราคาจึงเป็นปัจจัยที ไม่อาจละเลยได้ เมื อพิจารณาปัจจัยภายในประเทศ ราคาที สูงขึ นในปี 2553
น่าจะเป็นผลมาจากปริมาณผลผลิตที ลดลง (รูปที 4.9) โดยผลผลิตในช่วงเวลาดังกล่าวลดลงตํ าสุดในรอบ 5
ปีจากสถานการณ์ภัยแล้งช่วงต้นปีและอุทกภัยช่วงปลายปี (RYT9, 2554; 2555)
สําหรับราคาที ปรับสูงขึ นอีกครั งในปี 2555 สาเหตุหลักไม่ได้มาจากปริมาณผลผลิตที ลดลงเหมือนปี
2553 ตรงกันข้ามปริมาณผลผลิตและ stock ยังอยู่ในปริมาณสูงจากปกติ โดยราคาที สูงขึ นอาจมาจากทั ง
ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน กล่าวคือ ราคานํ ามันปาล์มดิบของไทยเพิ มสูงขึ นตามราคาที อ้างอิงในตลาด
มาเลเซีย โดยราคานํ ามันปาล์มในตลาดมาเลเซียเพิ มสูงขึ นตามราคานํ ามันถั วเหลืองและนํ ามันปิโตรเลียม
ซึ งนํ ามันถั วเหลืองเพิ มสูง เนื องจากอเมริกาใต้ประสบภัยแล้งยาวนานส่งผลให้ปริมาณผลผลิตถั วเหลือง
ลดลง และราคานํ ามันปิโตรเลียมสูงขึ น เนื องจากสถานการณ์ตึงเครียดระหว่างประเทศอิหร่านและสหรัฐ ฯ
สําหรับปัจจัยภายในประเทศนั น อาจเนื องมาจากการประกาศบังคับใช้นํ ามันไบโอดีเซล B5 ใน
เดือนมกราคม 2555 (กระทรวงพลังงาน, 2558) ส่งผลให้ปริมาณความต้องการนํ ามันปาล์มดิบเพิ มสูงขึ น
นําไปสู่ราคานํ ามันปาล์มดิบที เพิ มสูงขึ น อย่างไรก็ตาม จะเห็นว่าราคาผลปาล์มนํ ามันลดลงหลังจากช่วงเวลา
ดังกล่าว อันเนื องมาจากรัฐบาลมีแนวทางที จะนําเข้านํ ามันปาล์มราคาถูกมาจําหน่วยให้ผู้ประกอบการโรง
กลั น ส่งผลด้านจิตวิทยาระยะสั น ทําให้ราคาผลปาล์มทะลายลดลง (RYT9, 2555)
อาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยที อาจนําไปสู่การเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาผลปาล์มนํ ามันในประเทศไทย
ในช่วงประมาณเดือนตุลาคม 2555 นั น อาจประกอบด้วยปัจจัยภายนอกและภายใน โดยปัจจัยภายนอก ได้แก่
วิกฤตการณ์อาหารโลกในปี 2553 ราคานํ ามันถั วเหลืองและนํ ามันปิโตรเลียมที สูงขึ นในปี 2555 สําหรับ
ปัจจัยภายใน คือ อุปทานที ลดลงจากภัยธรรมชาติในปี 2553 และการประกาศบังคับใช้นํ ามันไบโอดีเซล B5
ในปี 2555
4-27