Page 82 -
P. 82
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
4.3 การทดสอบว่าภัยพิบัติทางธรรมชาติที เกิดขึ นในประเทศไทยก่อให้เกิดการเปลี ยนโครงสร้างราคาโดย
แบบจําลอง Panel Probit/Logit (Tests for the Effects of Natural Disaster in Thailand on the Structural
Breaks in Crop Prices)
ในการทดสอบความมีนัยสําคัญของผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเปลี ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศต่อการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาพืชเศรษฐกิจ (จากผลศึกษาในบทที 3) นั น รายงานส่วน
นี พิจารณา (1) ศึกษาผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติที เกิดขึ นในประเทศไทยต่อการเปลี ยนแปลง
โครงสร้างราคาพืชเศรษฐกิจ และ (2) ศึกษาผลกระทบของการเปลี ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในจังหวัดที มี
การปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดนั น ๆ มากที สุดในประเทศในปี พ.ศ. 2559 โดยจังหวัดที มีการปลูกพืชแต่ละชนิด
มากที สุดพร้อมปริมาณการเก็บเกี ยวแสดงในตารางที 4.1 ต่อไปนี
ตารางที 4.1: จังหวัดที มีผลผลิตของพืชเศรษฐกิจแต่ละประเภทสูงที สุด ในปี พ.ศ. 2559
พืชเศรษฐกิจ จังหวัด ปริมาณผลผลิต ปริมาณผลผลิต ร้อยละ
ในจังหวัด (ตัน) ทั งประเทศ (ตัน)
มันสําปะหลัง นครราชสีมา 5,970,243 31,807,488 18.77
ข้าวนาปี อุบลราชธานี 1,184,953 23,009,340 5.15
ปาล์มนํ ามัน สุราษฎร์ธานี 2,830,362 11,015,872 25.69
ยางพารา สุราษฎร์ธานี 699,457 4,466,063 15.66
ที มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2560)
ข้อมูลภัยพิบัติทางธรรมชาติที ใช้ในการศึกษาครั งนี มาจากฐานข้อมูลเหตุการณ์ฉุกเฉิน
(Emergency Events Database; EM- DAT) ซึ งพัฒนาโดยศูนย์วิจัยระบาดวิทยาของภัย (Centre for Research
on the Epidemiology of Disasters; CRED) ด้วยการสนับสนุน จากองค์การอนามัยโลก (World Health
Organization; WHO) และ รัฐบาลเบลเยียม ฐานข้อมูล EM- DAT มีข้อมูลภัยพิบัติจากทุกประเทศทั วโลก
ตั งแต่ปี พ.ศ. 2533 ถึงปัจจุบัน ฐานข้อมูล EM- DAT จัดประเภทภัยพิบัติเป็นสองหมวดหลัก คือ ภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติและภัยพิบัติจากเทคโนโลยี โครงการวิจัยนี มุ่งเป้าในการวิเคราะห์เฉพาะภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ประเภทของภัยพิบัติทางธรรมชาติที เกิดขึ นมากในประเทศไทย ได้แก่ การเกิดนํ าท่วม (Flood) ดินถล่ม
(Landslide) พายุ (Storm) อุณหภูมิสูง/ตํ าอย่างรุนแรง (Extreme Temperature) ภัยแล้ง (Drought) แผ่นดินไหว
(Earthquake) และ การแพร่ระบาดของโรค (Epidemic)
4-30