Page 85 -
P. 85

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                ตัวแปรอิสระต่อความน่าจะเป็นที จะเกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาของพืชเศรษฐกิจ  $ % คือ

                ฟังก์ชั นการแจกแจงสะสมร่วมของ    (Joint cumulative distribution function of   )


                           แบบจําลองทางเศรษฐมิติที ใช้ในการประมาณค่าสมการถดถอยข้างต้นนี  คือ แบบจําลอง Probit
                Model โดยแบบจําลองนี  สมมติให้  $ %  มีการกระจายแบบปกติ และ   #     , เมื อ

                                                                                                !
                    $   % ค่าพารามิเตอร์ในสมการถดถอยนี สามารถประมาณค่าได้โดยวิธีความน่าจะเป็นสูงสุด

                (Maximum likelihood; ML) โดยมีฟังก์ชั น log likelihood คือ


                                           #           (        $      "     %)                        (4.2)

                                                                                !




                           การประมาณค่าแบบจําลอง Probit Model สําหรับข้อมูล Panel นั นทําได้สองแบบ คือ
                แบบจําลอง Fixed effects และ แบบจําลอง Random effects การเลือกแบบจําลองนั น ขึ นอยู่กับข้อสมมติของ

                   หากสมมติให้    ไม่มีความสัมพันธ์กับตัวแปร    แบบจําลอง Random effects นั นมีประสิทธิภาพใน



                การประมาณค่าสูงกว่าแบบจําลอง Fixed effects ในการประมาณค่าแบบจําลอง Random effects นั น    ถือ

                เป็นส่วนหนึ งของค่าความคลาดเคลื อนที สามารถถูกกําจัดออกไปได้โดยการ Integrate ซึ งฟังก์ชั น Log
                likelihood สามารถเขียนได้ ดังนี



                             #                                "                                       (4.3)




                                                                       !


                จากฟังก์ชั น Log likelihood เราสามารถประมาณค่าพารามิเตอร์ &     ' โดยวิธีการจําลองมอนติคาร์โล
                                                                            !
                (Monte-Carlo simulation)

                ผลการศึกษา
                           ผลการศึกษาผลกระทบของการเกิดภัยธรรมชาติและการเปลี ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศต่อ

                การเกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาพืชเศรษฐกิจนั น แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ

                   1.  ผลกระทบของการเกิดภัยธรรมชาติในประเทศไทยต่อการเกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาพืช
                       เศรษฐกิจทั ง 4 ชนิด โดย แบบจําลอง Panel Probit Model และแบบจําลอง Panel Logit Model โดย

                       การศึกษาในส่วนนี ประมาณค่าผลกระทบ 4 สมการ คือ แบบจําลองที  1 และ 2 คือ Probit Model

                       และ Logit Model เพื อศึกษาผลกระทบของการเกิดภัยธรรมชาติใดๆ ต่อการเกิดการเปลี ยนแปลง

                       โครงสร้างราคาพืชเศรษฐกิจ และ แบบจําลองที  3 และ 4 คือ Probit Model  และ Logit Model เพื อ
                       ศึกษาผลกระทบของการเกิดภัยธรรมชาติแต่ละประเภทต่อการเกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคา

                       พืชเศรษฐกิจ ผลการศึกษาในส่วนนี แสดงในตารางที  4.3






                                                            4-33
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90