Page 78 -
P. 78
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลปาล์มนํ ามัน
ข้อมูลที ใช้ในการพิจารณา ประกอบด้วย ราคาผลปาล์มนํ ามันทั งทะลายที เกษตรกรขายได้ที สวน
ปริมาณผลผลิตปาล์มนํ ามัน (รูปที 4.9) และราคานํ ามันปาล์มดิบล่วงหน้าในตลาดมาเลเซีย (Bursa Crude
Palm Oil) (รูปที 4.10) รวมถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ที อาจนําไปสู่การเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคา
จากผลการศึกษาในบทที 3 พบว่า ช่วงเวลาที น่าจะเกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาผลปาล์ม
นํ ามัน คือ ช่วงเดือนมกราคม 2541 เดือนพฤศจิกายน 2544 และเดือนตุลาคม 2555 แม้ว่าประเทศไทยจะ
ส่งออกปาล์มนํ ามันในสัดส่วนน้อยเมื อเทียบกับประเทศส่งออกสองอันดับแรกอย่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย
แต่การค้าขายปาล์มนํ ามันในประเทศไทยก็อ้างอิงราคาจากต่างประเทศ โดยเฉพาะราคานํ ามันปาล์มดิบ
ล่วงหน้าในตลาดมาเลเซีย เมื อพิจารณาราคาดังกล่าว พบว่า ราคาผลปาล์มนํ ามันที เกษตรกรได้รับมีลักษณะ
การเคลื อนไหวในรูปแบบเดียวกันกับราคานํ ามันปาล์มดิบล่วงหน้าในตลาดมาเลเซีย (รูปที 4.10)
ในช่วงประมาณเดือนมกราคม 2541 พบว่าราคาผลปาล์มนํ ามันในช่วงเวลาดังกล่าวอยู่ในระดับสูง
แม้ไม่สามารถพิจารณาข้อมูลปริมาณผลผลิตในช่วงเวลาดังกล่าวได้ แต่เมื อทบทวนเหตุการณ์ในอดีตพบ
รายงานปรากฏการณ์สภาพอากาศแปรปรวน Ei Nino หรือ the 1997 – 98 El Nino-Southern Oscillation
(ENSO) ที ส่งผลทําให้เกิดภัยแล้งและไฟป่าในประเทศอินโดนีเซีย ซึ งเป็นผู้ผลิตปาล์มนํ ามันที สําคัญของ
โลก โดยภัยแล้งครั งนี ถือเป็นภัยแล้งที รุนแรงที สุดที ประเทศอินโดนีเซียเคยเผชิญมา (Wikipedia, 2017) ด้วย
เหตุนี จึงส่งผลให้ปริมาณผลผลิตปาล์มนํ ามันลดลง นําไปสู่ราคาที เพิ มสูงขึ น อีกทั งยังพบรายงานอุทกภัยใน
จังหวัดทางภาคใต้ของไทย ในช่วงเวลาดังกล่าวด้วย (กรมอุตินิยมวิทยา, มปป.)
สําหรับช่วงเวลาประมาณเดือนพฤศจิกายน 2544 ราคาผลปาล์มนํ ามันเพิ มสูงขึ นในช่วงเวลาดังกล่าว
(รูปที 4.9, 4.10) ในขณะที ก่อนหน้านั น ระดับราคาโดยเฉลี ยมีแนวโน้มลดลง หรือแม้แต่ต้นปี 2544 ราคา
นํ ามันปาล์มในตลาดต่างประเทศลดลงตํ าที สุดในรอบ 7 ปี อันเนื องมาจากการแข่งขันกันลดราคาส่งออกของ
ประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย เพื อแย่งส่วนแบ่งการตลาดซึ งกันและกัน อย่างไรก็ตามหลังจากนั นระดับ
ราคาได้ปรับตัวสูงขึ น ซึ งอาจเป็นผลมาจากการริเริ มการกําหนดมาตรฐานการผลิตนํ ามันปาล์มอย่างยั งยืน
(Roundtable on Sustainable Palm Oil: RSPO) อย่างไม่เป็นทางการครั งแรกในปี 2545 โดยความร่วมมือ
ระหว่างบริษัทปาล์มนํ ามันของประเทศอังกฤษ สมาคมปาล์มนํ ามันของประเทศมาเลเซียและองค์การ
กองทุนสัตว์ป่ าสากล (Arhus United UK Lrd, Migros, Malaysian Palm Oil Association, and Unilever
together with the World Wild Fund for Nature (WWF)) ซึ งมาตรฐานดังกล่าวเป็นมาตรฐานที สนับสนุนให้
มีการผลิตนํ ามันปาล์มอย่างยั งยืน ลดการเผาหรือรุกพื นที ป่า (RSPO, 2017) อาจกล่าวได้ว่า สาเหตุที ทําให้
เกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาในช่วงเวลาดังกล่าวอาจมาจากการแข่งขันกันลดราคาระหว่างประเทศผู้
ส่งออกปาล์มนํ ามันรายใหญ่ และโครงสร้างการผลิตตลอดจนรูปแบบการผลิตปาล์มที กําลังจะเปลี ยนแปลง
ไปอันเนื องมาจากมาตรฐานการผลิตนํ ามันปาล์มอย่างยั งยืน
เมื อพิจารณาราคาผลปาล์มนํ ามันในช่วงประมาณเดือนตุลาคม 2555 พบว่าระดับราคาก่อนและหลัง
ในช่วงเวลาดังกล่าวแตกต่างกันค่อนข้างมาก กล่าวคือระดับราคาสูงมากโดยเฉพาะช่วงปี 2553 โดยระดับ
4-26