Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       20




























                                 ภาพที่ 2-1 ผลิตภัณฑนม (มลศิริ วิโรทัย และ ปาริฉัตร หงสประภาส, 2550)


               2.5 ปญหาสิ่งแวดลอมจากการแปรรูปผลิตภัณฑนม
                       กระบวนการแปรรูปนมเปนกระบวนการหนึ่งที่ปลอยมลพิษเปนอันดับตน ๆ ซึ่งมีผลกระทบตอ

               สิ่งแวดลอมและชุมชนรอบขาง ในกระบวนการผลิตนั้นจะใชน้ําในปริมาณสูง ทั้งในกระบวนการลาง ตม นึ่ง
               และฆาเชื้อโรค เปนตน จึงทําใหมลพิษสวนใหญออกมาในรูปของน้ําเสียที่มีความสกปรกและมีสารอินทรีย
               ปะปนออกมาสูงและจะเกิดการยอยสลายอละเนาเสียอยางรวดเร็ว ซึ่งจะสงผลกระทบตอแหลงน้ํา ดังนั้นของ
               เสียและน้ําเสียที่เกิดขึ้นจะตองไดรับการบําบัดที่ถูกวิธี (เพ็ญจา จิตจํารูญโชคไชย, 2542)

                       กระบวนการแปรรูปนมนอกจากจะสงผลกระทบตอน้ําแลว ยังสงผลกระทบตออากาศซึ่งเกิดจากฝุนที่
               เกิดจากการแปรรูปนมผง กลิ่นและกาซมีเทนจากกระบวนการบําบัดน้ําเสีย กาซเรือนกระจกจากการเผา
               เชื้อเพลิงในกระบวนการผลิต ผลกระทบตอดินในรูปแบบของการสูญเสียแรธาตุที่สําคัญ เชน ไนโตรเจน และ

               กระบวนการผลิตยังเกิดมลภาวะทางเสียงจากเครื่องจักรอีกดวย (World Bank Group, 1998)
                       2.5.1 ลักษณะของน้ําเสียที่เกิดขึ้น
                       น้ํานมมีสวนประกอบเปนสารอินทรียจํานวนมาก เชน โปรตีน ไขมัน แลคโตส ซึ่งน้ําเสียที่ออกมานั้น
               จะวัดคา BOD (Biological Oxygen Demand) ไดเฉลี่ยอยูในชวง 0.8-2.5 กิโลกรัมตอตัน และ COD
               (Chemical Oxygen Demand) ประมาณ 1.5 เทาของระดับ BOD มีสารแขวนลอย 100-1,000 มิลลิกรัมตอ

               ลิตร  สารละลายที่เปนฟอสฟอรัส 10-100 มิลลิกรัมตอลิตร และไนโตรเจนประมาณ 6 % ของระดับ BOD น้ํา
               เสียที่เกิดขึ้นยังกอใหเกิดกลิ่นและเชื้อโรคตามมา ในกระบวนการผลิตครีม เนยแข็ง ชีส และเวย จะสงผล
               กระทบตอสิ่งแวดลอมมาก

                       นอกจากนี้จากการศึกษาของ Berlin J (2005) ยังกลาวถึงของเสียในรูปของผลิตภัณฑที่หมดอายุ
               บรรจุภัณฑและน้ําเสียจากการทําความสะอาดเครื่องมือการผลิต โดย Hogass Eide (2002) ไดทําการคํานวณ
               ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม พบวา กระบวนการทําความสะอาดทําใหเกิดน้ําเสียประมาณ 80 % ของทั้งหมด ซึ่ง
               วิธีการที่ที่สุดในการลดผลกระทบทางสิ่งแวดลอมโดยตรง คือ ลดขั้นตอนการทําความสะอาดและลดปริมาณ

               น้ํานมที่สูญเสียในการผลิต
                       ทั้งนี้กระบวนการแปรรูปนมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากกมาย ในประเด็นดังตอไปนี้ (Berlin JW,
               2006)
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37