Page 29 -
P. 29
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
17
2.3 การจัดการสิ่งแวดลอมของฟารมโคนม
จากการศึกษาของ จรัญ จันทลักขณา (2542) พบวา การเลี้ยงสัตวในประเทศไทย ประกอบดวย โค
กระบือ มีจํานวนประมาณปละ 11 ลานตัว โคนมประมาณ 3 แสนตัว โคนมเต็มวัยจะผลิตมูลและปสสาวะโดย
เฉลี่ยวันละ 7.9 % ของน้ําหนักตัว ดังนั้นใน 1 ป จะมีมูลและปสสาวะจากโคกระบือไมต่ํากวา 73 ลานตันตอป
ของเสียที่เกิดขึ้นจากฟารม ไดแก มูลแหง (มีความชื้นแตไมเหลว) มูลเหลว (มูลผสมน้ํา) ปสสาวะและน้ําลาง
คอก มูลโคแหงเกษตรกรนําไปใชในฟารม เชน เปนปุยในแปลงพืช สวนผลไม บอปลา และเลี้ยงเปด จําหนาย
ใหเกษตรกรในทองถิ่นอื่น ๆ เพื่อใชในการเพาะปลูก สวนที่เหลือกองทิ้งไวในฟารม สวนมูลโค ปสสาวะ และ
น้ําลางคอก ฟารมสวนใหญจะมีบอพักทายคอกหนึ่งบอ สวนมากเปนบอขนาดเล็ก ดังนั้นของเหลวที่ลนจะไหล
ออกไปสูคลองและลํารางสาธารณะ บางฟารมมีการทําบอกาซชีวภาพแตเปนสวนนอย น้ําเสียที่ลนจะไหลไปสู
พื้นที่สาธารณะเปนปญหาเกี่ยวกับมลภาวะในดิน น้ํา และ อากาศ รวมทั้งกลิ่นเหม็นและแมลงตาง ๆ อันเกิด
จากสภาพขาดการจัดการของเสียจากฟารม บางฟารมตั้งอยูในบริเวณที่อยูอาศัยของชุมชนมีปญหาดาน
สิ่งแวดลอม อาจตองเลิกกิจการหรือยายสถานที่ทําฟารมไปที่อื่น จากผลการสํารวจการจัดการของเสียในฟารม
โคนมในจังหวัดราชบุรี นครปฐม นครราชสีมา สระบุรี ลพบุรี นครนายก เชียงใหม ขอนแกน จํานวน 38 ฟารม
มีฟารมโคนมที่เลี้ยงโครีดนมจํานวน 6-80 ตัวตอฟารม โดยฟารมมีพื้นที่นอยที่สุด คือ 50 ตารางเมตร มีแมโค
รีดนม 20 ตัว บางฟารมมีพื้นที่ถึง 248 ไร เพื่อปลูกหญาเลี้ยงโค แมโครีดนมสวนใหญมีน้ําหนักตัวอยูระหวาง
400-500 กิโลกรัม แมโคนมแตละตัวผลิตของเสีย (มูลและปสสาวะ) เปนปริมาณไมต่ํากวา 30-40 กิโลกรัมตอ
ตัว และรวมทั้งน้ําลางคอกแตละวันรวมแลวประมาณ 100 ลิตรตอตัว การจัดการและกําจัดของเสียในฟารมโค
นมที่ดําเนินการมานาน ทําใหมีพื้นที่นอยและแออัด จึงมีปญหาเกี่ยวกับการจัดการของเสียมากพอสมควร
โดยเฉพาะของเสียที่เปนของเหลวในฤดูฝน
ของเสียที่เกิดจากฟารมโคนม แบงออกไดเปนสองสวน คือ มูลแหง และมูลที่เปนของเหลว มูลแหง
เกษตรกรนําไปใชประโยชนในแปลงหญา แปลงผัก สวนผลไม หรือขายใหแกเกษตรกร เพื่อใชประโยชนใน
การเกษตร สวนที่เหลือกองทิ้งไวในฟารมไหลซึมลงพื้นดินหรือคูคลองบริเวณใกลเคียง เกิดมลภาวะตอ
สิ่งแวดลอม สวนที่เปนของเหลวไหลไปตามรางระบายลงสูบอพักทายคอกหรือบอกาซชีวภาพ สวนที่ไหลลน
ออกจากบอพัก บอกาซชีวภาพ จากรางระบายน้ําโดยตรงลงสูลําน้ําสาธารณะและพื้นที่ใกลเคียงกอใหเกิด
มลภาวะตอสิ่งแวดลอม
ทั้งนี้จากการศึกษาของ เกษตร วิทยานุภาพยืนยง (2531) พบวา ฟารมโคนมสวนใหญยังขาดระบบ
การจัดการของเสียจากฟารม แตการลงทุนในการจัดการบําบัดของเสียจากฟารมเลี้ยงโคนมซึ่งสวนใหญเปน
ฟารมขนาดเล็กมีจํานวนโคนมเพียง 10-40 ตัวตอฟารม ยอมเปนการลงทุนที่แพงเกินไปสําหรับเกษตรกร
เกษตรกรบางรายไดรับการสงเสริมใหใชมูลโคทํากาซชีวภาพ โดยเก็บมูลโคลงบอกาซชีวภาพ แตมูลเหลวที่ลน
คอกก็ยังตองจัดการกําจัด นอกจากนั้นเกษตรกรยังมีภาระเพิ่มเติมในการบํารุงรักษาซอมแซมบอกาชชีวภาพ
เกษตรกรสามารถซื้อกาซหุงตมเปนเชื้อเพลิงหรือใชไฟฟาในบานเรือนสะดวกกวาและราคาไมแพงเกินไป ทําให
ความสนใจของเกษตรกรในการใชมูลโคทํากาชชีวภาพมีนอย การสงเสริมการทําบอกาซชีวภาพจึงไมคอย
ประสบความสําเร็จในระยะยาว การเลี้ยงโคนมกับสิ่งแวดลอมเปนปญหาระยะยาว และยังไมเกิดผลเสียเปน
เรื่องวิกฤตเฉพาะหนาในสายตาของเกษตรกร ผูซึ่งเคยชินกับสภาพความเปนอยูประจําวันในฟารมโคนมที่
ตนเองเห็นวาไมมีปญหาหรือยังไมเกิดปญหาในวันนี้ จึงกลายเปนเรื่องที่มีความสําคัญนอย การจัดการกําจัด
ของเสียจากฟารมโคนม จึงยังเปนเรื่องที่ไมไดรับความสนใจจัดการแกไขแตอยางใด ปญหาเรื่องการเลี้ยงสัตว
โดยเฉพาะการเลี้ยงโคนมในสภาพหนาแนนแออัดนั้น เปนที่ทราบกันดีแลววายอมนําไปสูปญหามลภาวะอัน