Page 82 -
P. 82

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   จุดเริ่มต้นงานวิจัยควาย... ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ นับว่า     ๒)  ด้านเทคโนโลยีทางการสืบพันธุ์ มีจ�านวน
            เป็นจุดเริ่มต้นงานวิจัยและพัฒนาควายไทยอย่างจริงจัง   ๒๔ เรื่อง เช่น (๑) การศึกษาวิธีการคัดแยกและเลี้ยง
            โดยความร่วมมือจากหลายบุคคลและหลายหน่วยงาน   ฟอลลิเคิลขนาดเล็กในกระบือปลักเพื่อท�าปฏิสนธิในหลอดแก้ว

            น�าโดยอธิบดีกรมปศุสัตว์ในขณะนั้น คือ ดร.ศิริ ศุภางคเสน   และการฉีดตัวอสุจิเข้าในไข่ (๒) ผลการเหนี่ยวน�าการเป็นสัด
            ผู้เชี่ยวชาญจาก ประเทศเยอรมี (ดร.เอช ฟิชเชอร์) ผู้แทน  ๒ วิธี ต่อการตั้งท้องในกระบือปลักไทย เป็นต้น
            ส�านักงาน เอฟ.เอ.โอ (ดร.รูมิช) ผู้แทนมูลนิธิร๊อคกี้เฟลเลอร์      ๓)  กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา มีจ�านวน
            (ดร.เจมส์ จอห์นสตัน) ผู้แทนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   ๑๒ เรื่อง เช่น (๑) การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและ

            (ดร.จรัญ จันทลักขณา) และหัวหน้ากองหัวหน้าหน่วยงาน  คุณสมบัติของเนื้อกระบืองาน (๒) การศึกษาลักษณะ
            กรมปศุสัตว์ ได้ร่วมวางแผนการส่งเสริมและบ�ารุงพันธุ์  โครงสร้างและเนื้อเยื่อเคมีพวก  Glycoconjugates
            โคเนื้อ โคนม และควาย โดยเฉพาะควายที่มีความจ�าเป็น  ในต่อมผิวหนังของกระบือปลัก เป็นต้น
            อย่างเร่งด่วนต้องปรับปรุงพันธุ์ และสนับสนุนการวิจัย     ๔)  อาหาร พบเพียง มีจ�านวน ๗ เรื่อง เช่น

            อย่างจริงจัง  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน�าผลการวิจัย  (๑) การศึกษาความต้องการโปรตีนในกระบือปลักไทย
            ไปปรับปรุงและพัฒนาการเลี้ยงควายของเกษตรกร        ที่ได้รับฟางข้าวเป็นอาหารหยาบ (๒) การขุนกระบือปลัก
                   สังเคราะห์งานวิจัยควายไทยจากอดีตถึง  เพศผู้ไม่ตอน ด้วยเปลือกสับปะรดหมักโดยใช้หลักของ
            ปัจจุบัน... งานวิจัยนี้รวบรวมจากฐานข้อมูลงานวิจัยที่  การเติบโตชดเชย เป็นต้น

            ส�านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติได้พิจารณาแล้วและ      ๕)  การผลิตและการจัดการ มีจ�านวน ๑๗ เรื่อง
            อนุมัติให้นักวิจัยของกรมปศุสัตว์ด�าเนินการวิจัยในช่วง  เช่น (๑) การศึกษาการหย่านมลูกกระบือลูกผสมมูร่าห์รีดนม
            หลายปีที่ผ่านมาจนถึงปี ๒๕๕๗ ซึ่งข้อมูลไม่ได้ครอบคลุม  เมื่ออายุ ๓ เดือน (๒) การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับปริมาณ
            ไปถึงงานวิจัยเรื่องควายของสถาบันการศึกษาต่างๆ หรือ  การให้นม และส่วนประกอบของน�้านมในแม่กระบือปลัก

            หน่วยงานวิจัยอื่น ที่คาดว่ามีไม่น้อยกว่าผลงานที่นักวิจัย  เป็นต้น
            ของกรมปศุสัตว์ด�าเนินการ  ซึ่งพบว่าโครงการวิจัย        ๖)  สุขภาพ มีจ�านวน ๑๒ เรื่อง เช่น (๑) ค๊อกซิเดีย
            หลายโครงการมีความคาบเกี่ยวกันหลายสาขาหรือ  ของลูกกระบือและการควบคุม (๒) การศึกษาคุณสมบัติ
            หลายด้านยากต่อการแบ่งแยกที่ชัดเจน โดยได้แบ่งเป็น  ทางเภสัชจลนศาสตร์ของยาซัลฟาในกระบือปลักไทย

            สาขาย่อยได้ ๑๐ สาขา ดังนี้                       เป็นต้น
                   ๑)  การปรับปรุงพันธุ์ มีจ�านวน ๑๔ เรื่อง เช่น      ๗)  เศรษฐกิจและสังคม มีจ�านวน ๔ เรื่อง เช่น
            (๑) โครงการวิจัยทดสอบพันธุ์และกระจายพันธุ์กระบือ  (๑) การศึกษาความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ สังคม เทคนิค
            พื้นเมืองในระดับเกษตรกรรายย่อย โดยการเปิดฝูงผสมพันธุ์  ส�าหรับการเลี้ยงกระบือในพื้นที่เขต ๙ ปี ๒๕๔๗ (๒) การให้

             (๒) โครงการวิจัยสร้างกระบือยอดเยี่ยม เป็นต้น    ผลผลิตของแม่กระบือและทัศนคติของเกษตรกรต่อพ่อพันธุ์

























       80    ๑๖ ปี สมาคมอนุรักษ์และพัฒนาควายไทย
             กับการมีส่วนร่วมอนุรักษ์พัฒนาควายไทยและเครือข่ายคนรักควาย
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87