Page 81 -
P. 81
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
งำนวิจัย
ควำยไทย....
จำกอดีต..ปัจจุบัน และอนำคต
กิตติ กุบแก้ว
ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาพันธุ์กระบือ
กรมปศุสัตว์
ควำย หรือกระบือ ที่คนมักเรียกเป็นทำงกำร หำกแต่ค�ำไทยแท้ดั้งเดิมนั้นคือ “ควำย”
ซึ่งควำยมีควำมส�ำคัญต่อวิถีชีวิตผู้คนมำกกว่ำครึ่งค่อนโลก เพรำะมีกำรเลี้ยงเป็นจ�ำนวนมำก
ในภูมิภำคเอเชียรวมถึงในประเทศไทยด้วย (คนเอเชียมีจ�ำนวนมำกกว่ำคนในภูมิภำคอื่นๆ ของโลก
รวมกัน) กล่ำวเฉพำะในประเทศไทย “ควำย” มีบทบำทตั้งแต่หัวขบวนในกำรบุกเบิกพัฒนำ
ประเทศในยุคอำศัยภำคเกษตรกรรมเป็นหลัก สินค้ำส่งออกอันดับต้นๆ ของประเทศเมื่อรำว
๔๐-๕๐ ปีที่แล้ว คือไม้สัก ข้ำว และยำงพำรำ ซึ่งผลผลิตข้ำวที่ได้มำเพื่อกำรบริโภคในประเทศ
และกำรส่งออกนั้น ส่วนใหญ่ล้วนได้มำจำกแรงงำนจำกควำยในกำรเตรียมดินไถหว่ำนเพำะปลูกข้ำว
รวมทั้งกำรขนส่งขึ้นสู่ยุ้งฉำง โดยมีแรงงำนจำกวัวร่วมด้วยในบำงพื้นที่เท่ำนั้น
ปัญหาของควายในอดีต.... รัฐบาลในอดีตเริ่มเห็น ขนาดโตและลักษณะดี เพื่อใช้งานและขายได้ราคา เป็น
วิกฤติเรื่องควายมีขนาดเล็กลงตั้งแต่ปี ๒๕๐๙ จึงได้ตรา การตรงข้ามกับความประสงค์ของทางราชการที่จะให้
พระราชบัญญัติบ�ารุงสัตว์ พ.ศ.๒๕๐๙ โดยเหตุผลแนบท้าย สงวนสัตว์ที่มีขนาดโตและลักษณะดีไว้ใช้สืบพันธุ์ และ
ประกาศซึ่งเป็นสาระส�าคัญที่ต้องมีการประกาศใช้พระราช- ตอนสัตว์ตัวที่มีขนาดเล็กและลักษณะเลวให้สูญพันธุ์
บัญญัติฉบับนี้ คือเนื่องจากพระราชบัญญัติบ�ารุงและรักษา มิฉะนั้นสัตว์ในรุ่นต่อ ๆ ไปก็จะยังมีขนาดเล็กลงตามล�าดับ
พันธุ์ปศุสัตว์และสัตว์พาหนะ พุทธศักราช ๒๔๗๙ ที่ใช้บังคับ จึงสมควรปรับปรุงพระราชบัญญัติบ�ารุงและรักษาพันธุ์
อยู่ในขณะนี้ มีบทบัญญัติไม่รัดกุมและเหมาะสมกับ ปศุสัตว์และสัตว์และสัตว์พาหนะ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ภาวการณ์ในปัจจุบัน ผู้เลี้ยงสัตว์ยังนิยมตอนสัตว์ที่มี เสียใหม่ ให้รัดกุมและเหมาะสมยิ่งขึ้น
กับการมีส่วนร่วมอนุรักษ์พัฒนาควายไทยและเครือข่ายคนรักควาย 79
๑๖ ปี สมาคมอนุรักษ์และพัฒนาควายไทย