Page 79 -
P. 79

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                วัฒนธรรมเกษตรแบบไทยๆ เพื่อให้อยู่รอดจากวิกฤต
                                                                เศรษฐกิจและภาวะน�้ามันแพง คงต้องออกแรงกันอย่างมาก
                                                                เพราะชาวบ้านขายควายออกไปเกือบหมดแล้ว ควาย

                                                                ลดจ�านวนลงจากประมาณ ๔ ล้าน เมื่อ ๑๐ ปีที่แล้ว
                                                                เหลือเพียงประมาณ ๑ ล้านตัวในปัจจุบัน ภาพที่เห็น
                                                                และน่าสลดใจ คือรถบรรทุกควายเข้าโรงเชือดคันแล้ว
                                                                คันเล่า นักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและส่งเสริม

                                                                การเลี้ยงควายเคยวิเคราะห์ กันว่าเป็นเพราะควายราคา
                                                                ไม่ดี (ในอดีต) ไม่มีสิ่งจูงใจให้ชาวบ้านเลี้ยงควายอีกต่อไป
                                                                ควายจึงถูกขายออก แต่ครั้นเมื่อควายมีราคาดีเกือบ
               เครื่องจักร ที่สามารถใช้งานได้ดีกว่าแรงงานควาย และ  เทียบเท่าวัวตามที่เห็นในตลาดนัดวัวควายใน ชนบทใน

               รวดเร็วกว่า ควายเข้ามามีบทบาทในประเทศมากขึ้น   ปัจจุบัน ชาวบ้านก็ยังคงขายควายต่อไปเพราะราคาดี
               ชาวนาจึงผันวิถีชีวิตของตนให้กับเทคโนโลยีที่ทันสมัยนี้   โดยที่คิดว่าไม่
               จึงลืมวัฒนธรรมของตนเอง ท�าให้ควายมีบทบาทน้อยลง         จ�า เป็นต้องใช้ควายอีกต่อไป เพราะสามารถหาซื้อ
               ในปัจจุบัน                                       หรือเช่ารถไถมาใช้เตรียมดินเพาะปลูกแทน เมื่อประมาณ

                      ส�าหรับประเทศไทยซึ่งรากฐานคือการเกษตร   ๘ ปีที่แล้ว เคยมีการวิเคราะห์ปัจจัยที่ท�าให้ชาวบ้าน
               แต่การเกษตรเป็นภาคที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล  บางหมู่บ้านของจังหวัดสุรินทร์เลิกใช้แรงงานควายนั้น
               น้อยกว่าภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม เกษตรกรนับวัน  เป็นเพราะ
               แต่จะอ่อนแอลง โดยเฉพาะช่วงก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ            ๑)  ขาดแรงงานในครัวเรือน แรงงานวัยท�างาน

               ความแตกต่างระหว่างคนรวยในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม  อพยพมาท�างานในโรงงาน เหลือแต่แรงงานผู้อาวุโสซึ่งก็
               กับคนในภาคเกษตรมีอยู่มาก แรงงานในชนบทเคลื่อนย้าย  ท�าไร่ไถนาไม่ไหวแล้ว
               เข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม มีการสร้างปัจจัยสนับสนุนการใช้     ๒)  ค่านิยมและวัตถุนิยม ถ้าบ้านใดใช้รถไถดูมี
               เครื่องมือเครื่องจักรในการเกษตรกันมาก ประกอบกับ  ฐานะทางเศรษฐกิจ และดูทันสมัยกว่า

               คนส่วนใหญ่หลงความทันสมัยในวัตถุนิยมมากกว่า             ๓)  มีแหล่งสินเชื่อให้กู้เงินซื้อรถไถ ซึ่งชาวบ้าน
               พิจารณาถึงความคุ้ม แรงงานวัวควายที่เคยใช้ในระบบ  บางรายเป็นหนี้เป็นสินด้วยการกู้นี้
               การท�าไร่ไถนาของเกษตรกรรายย่อยในชนบทถูกมองว่า          ๔)  สภาพฝนแล้ง
               ล้าหลัง ครั้นเมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจกลางปี พ.ศ. ๒๕๔๐      ๕)  ขาดแหล่งอาหารเลี้ยงควาย

               แรงงานในภาคอุตสาหกรรมบางส่วนจึงถอยหลังกลับสู่          ๖)  มีระบบการจ้างรถไถเดินตาม
               ฐานรากทางการเกษตรในด้านต่าง ๆ แต่บางสิ่งบางอย่าง       ปัจจัย เหล่านี้จึงสะท้อนว่าไม่ว่าควายราคาดี
               หายไปจากวิถีชีวิตคนในชนบท ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนคือ   หรือไม่ ชาวบ้านก็ขายทั้งสิ้น ปัจจุบันชาวบ้านบางราย
               ควายที่เคยใช้ไถพื้นที่เตรียมดินเพาะปลูกในหลายท้องที่  อยากกลับมาเลี้ยงควายอีก แต่ปัญหาคือควายมีราคาแพง

               ได้หายไปจากระบบการท�า ไร่ไถนาเกือบหมด ควายที่เคย  เกินกว่าที่จะหาซื้อมาได้
               เป็นเหมือนออมสินรายปี เป็นแรงงาน ขี้ออกมาก็ยังเป็นปุ๋ย     ควายในประเทศไทยเกือบทั้งสิ้นเลี้ยงโดยชาวนา
               ให้พืช มีลูกก็ขายเป็นรายได้อีกทางหนึ่ง ปัจจุบันน�้ามันแพง   ชาวไร่ ครอบครัวละ ๓-๘ ตัว เป็นส่วนมาก เพื่อใช้ในการ
               แรงงานควายจะเป็นประโยชน์มากในวิถีชีวิตคนและ  ท�าไร่ท�านา เมื่อควายมีอายุมากหรือไม่จ�าเป็นต้องเลี้ยงไว้

               การเกษตรในชนบท โดยไม่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษเหมือน  ใช้งาน หรือมีเหตุผลอย่างอื่น เช่น ฝนแล้ง น�้าท่วม อพยพ
               เช่นเครื่องจักรที่ต้องใช้น�้ามัน แต่การที่จะน�าควายกลับมาสู่  โยกย้ายการท�ามาหากิน บวชลูกชายหรือแต่งงานลูก ฯลฯ





                                                                            กับการมีส่วนร่วมอนุรักษ์พัฒนาควายไทยและเครือข่ายคนรักควาย 77
                                                                                      ๑๖ ปี สมาคมอนุรักษ์และพัฒนาควายไทย
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84