Page 60 -
P. 60

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



                                                                                                        60





                    จะมีข้อด้อยดังที่กล่าวมาแล้วแต่ก็ถือว่าเป็นการวิเคราะห์ในขั้นต้นเพื่อดูว่าคุณลักษณะต่างๆ(different


                    attributes) ที่กําหนดไว้มีความสําคัญต่อการตัดสินใจเลือกของเกษตรกรหรือไม่อย่างไร






                         สําหรับ CLM ความน่าจะเป็นของผู้ตอบแบบสอบถาม n ที่พึงพอใจในทางเลือก j (Pnj) มากกว่า

                    ทางเลือกอื่นๆ i แสดงได้ดังนี้



                                     exp�           +            +⋯+           �
                                                                                   
                                           1 1        
                                                     2 2        
                         P    =                                                                                  (สมการที่ 2)
                                   
                                  ∑       exp(           +            +⋯+           )
                                        =1    1 1          2 2                           

                          β  คือค่าสัมประสิทธิของอรรถประโยชน์ (utility coefficient) ส่วน X คือ ระดับของ
                           k
                                                                                          kni
                    คุณลักษณะ k สําหรับทางเลือก i ของผู้ตอบแบบสอบถาม n ในการวิเคราะห์ความพึงพอใจของ


                    เกษตรกรด้วย CLM ร่วมกับลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรจะให้ข้อมูลเบื้องต้นได้ว่า

                    กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรที่ตอบแบบสอบถามมีความชอบหรือความพึงพอใจแตกต่างกันหรือไม่


                         LCM ซึ่งเป็นแบบจําลองที่มีความซับซ้อนมากกว่า CLM  โดย  CLM สมมุติว่าเกษตรกรผู้ตอบ

                    แบบสอบถามมีความชอบที่เหมือนกัน (homogenous preference) ทั้งๆที่ความจริงแล้วเกษตรกรอาจจะมี


                    ความชอบที่แตกต่างกัน  ในขณะที่  LCM  จะถูกนํามาใช้ในการวิเคราะห์ความชอบที่แตกต่างกันของ

                    เกษตรกร  (heterogeneous preference)  (Heckman  et  al.,  1984,  Boxall  et  al.,  2002)  และ  LCM  มี

                    ความสามารถในการจําแนกเกษตรกรจากชุดทางเลือกต่างๆออกเป็นกลุ่มๆบนสมมุติฐานที่ว่าเกษตรกร

                    ที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันมีความชอบที่คล้ายคลึงกันหรือเหมือนกันแต่มีความชอบที่แตกต่างไปจาก

                    เกษตรกรในกลุ่มอื่นๆ  โปรแกรมจะจําแนกเกษตรกรออกเป็นกลุ่มๆตามความชอบของเกษตรกรจาก

                    การประมาณค่าความน่าจะเป็นของเกษตรแต่ละคน  ว่าเกษตรคนนั้นๆควรจะอยู่ในกลุ่มใด    ส่วนของ

                    ความคาดเคลื่อน (error term) เป็นอิสระต่อกัน (independently distributed) ในแต่กลุ่มหรือบุคคล (Swait,

                    1994)
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65