Page 71 -
P. 71
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 5.13 ค่าใช้จ่ายในการจัดการศัตรูพืชจ าแนกตามประเภทของวิธีการจัดการศัตรูพืชของเกษตรกร
ตัวอย่างผู้ปลูกพืชผักที่ท าการศึกษาในจังหวัดนครปฐม ปทุมธานี และราชบุรี ปีการผลิต
2558/59
จังหวัด รวม
รายการค่าใช้จ่าย
นครปฐม ปทุมธานี ราชบุรี (บาท/ไร่)
สารเคมีควบคุมและก าจัดแมลง/หนอน 673.99 624.15 1592.82 966.68
ค่าสารเคมีก าจัดศัตรูพืช
(บาท/ไร่) สารเคมีควบคุมและก าจัดเชื้อรา 334.25 240.4 412.52 329.31
สารเคมีควบคุมและก าจัดวัชพืช 388.91 162.81 138.16 229.13
รวม 1,397.15 1,027.36 2,143.49 1,525.13
กากน้ าตาล 3.06 1.24 - 2.15
ไตรโคเดอร์มา 7 2.95 7.38 5.78
น้ าส้มควันไม้ 18.78 5.93 32.03 18.96
ค่าใช้จ่ายผลิตภัณฑ์ชีววิธี น้ าส้มสายชู 0.15 - - 0.15
(บาท/ไร่) น้ าหมักชีวภาพ 214.84 42.98 81.7 112.73
บาซิลลัส 0.2 - 7.58 3.93
บิวเวอเรีย 3.6 13.32 66.57 28.04
บีที 3.8 11.88 55.88 24.03
รวม 251.43 78.3 251.14 195.75
ค่าแรงงาน 1,654.04 591.29 1,198.29 1,146.37
ค่าใช้จ่ายในการจัดการศัตรูพืชทั้งหมด (บาท/ไร่) 3,302.62 1,696.95 3,592.92 2,867.25
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) 485.31 244.43 566.34 397.61
พืชหลักในพื้นที่ศึกษา ถั่วฝักยาว บวบ ถั่วฝักยาว
เมื่อพิจารณาถึงสัดส่วนค่าใช้จ่ายในการจัดการศัตรูพืชของเกษตรกร พบว่า เกษตรกรตัวอย่างในจังหวัด
นครปฐม ปทุมธานี และราชบุรี มีค่าใช้จ่ายในการจัดการศัตรูพืชที่ใกล้เคียงกัน โดยเกษตรจังหวัดราชบุรีซึ่ง
ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ปลูกถั่วฝักยาวมีสัดส่วนค่าใช้จ่ายในการจัดการศัตรูพืชสูงที่สุด โดยเป็นค่าใช้จ่ายในการ
จัดการศัตรูพืช คิดเป็นร้อยละ 25.74 ของต้นทุนทั้งหมด อย่างไรก็ตาม ยังพบว่ามีเกษตรกรร้อยละ 7.84 มี
ค่าใช้จ่ายในการจัดการศัตรูพืชมากกว่าร้อยละ 50 ของต้นทุนทั้งหมด เนื่องจากเกษตรกรตัวอย่างผู้ปลูก
ถั่วฝักยาว ระบุว่าถั่วฝักยาวเป็นพืชผักที่มีศัตรูพืชสูง ส่งผลให้มีความต้องการควบคุม และจัดการศัตรูพืชเป็น
จ านวนมาก และส่วนใหญ่จัดการศัตรูพืชโดยการใช้สารเคมี และต้องมีการฉีดพ่นสารเคมีบ่อยครั้ง ท าให้มี
ต้นทุนในการจัดการศัตรูสูง ในส่วนของเกษตรกรตัวอย่างจังหวัดปทุมธานีส่วนใหญ่เป็นการปลูกบวบ ที่มี
ศัตรูพืชไม่สูงเท่าถั่วฝักยาว ท าให้มีค่าใช้จ่ายที่ต่ ากว่าค่าใช้จ่ายในการจัดการศัตรูพืชของเกษตรกรตัวอย่าง
56