Page 3 -
P. 3

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                    กิตติกรรมประกาศ



                       การดําเนินงานโครงการ “รูปแบบธุรกิจการเกษตรในพื้นที่สูงและการพัฒนาที่ยั่งยืน” สําเร็จได้ด้วย
               ความช่วยเหลือของหลายหน่วยงานและบุคคลหลายฝ่าย ในโอกาสนี้ คณะผู้วิจัยต้องขอขอบพระคุณเป็นอย่าง

               ยิ่งต่อผู้ที่มีส่วนช่วยเหลือในการทํางานวิจัยตลอดโครงการดังต่อไปนี้

                   •  สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่ให้งบประมาณสนับสนุนในการทํางานวิจัยฉบับนี้จน
                       สําเร็จไปได้ด้วยดี

                   •  สถาบันคลังสมองของชาติที่ช่วยประสานงานโครงการและผลักดันให้เกิดโครงการวิจัยนี้ ตลอดจน

                       สนับสนุนงบประมาณการจัดประชุมเผยแพร่ผลงานวิจัย
                   •  รศ.สมพร อิศวิลานนท์ และดร.ปิยะทัศน์ พาฬอนุรักษ์ ที่สนับสนุน ร่วมศึกษาพื้นที่ ให้โอกาส

                       คําแนะนําและกําลังใจให้รายงานมีความสมบูรณ์และโครงการวิจัยลุล่วงไปด้วยดี

                   •  รศ.ดร.พอพันธ์ อุยยานนท์ ที่ให้คําปรึกษา ข้อแนะนําและกําลังใจตลอดการทําโครงการวิจัย

                   •  นางสาวชนัญชิดา สิงคมณีที่ช่วยประสานและให้คําแนะนําขั้นตอนต่างๆ ของการดําเนินโครงการวิจัย

                   •  สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง อาจารย์พินิจ เชาวน์ตระกูล นายชวลิต สุทธเขตต์และเจ้าหน้าที่
                       ภาคสนามโครงการขยายผลโครงการหลวงพื้นที่โป่งคํา (คุณบอย) แม่จริม (คุณอ๋อง) และบ้านถ้ําเวียง

                       แก (คุณเจ) ที่ช่วยประสานเกษตรกรในพื้นที่ สละเวลาเล่าและแบ่งปันข้อมูลตลอดจนประสบการณ์
                       การทํางานในพื้นที่อย่างครบถ้วน

                   •  นายสิทธิชัย เสรีนวกุล (บ้านป่ากลาง อ.ปัว) นายปรีชา กล้าพิทักษ์ (ผู้ใหญ่บ้าน หมู่บ้านมณีพฤกษ์ อ.

                       ทุ่งช้าง) นายเคเล็บ จอร์แดน (บ้านมณีพฤกษ์) นายวิชัย กําเนิดมงคล (บ้านมณีพฤกษ์)นางสาวพิชญา

                       ยอดอ่อน (บ้านมณีพฤกษ์) นายสมบุญ แซ่จ๋าว (บ้านสันเจริญ อ.ท่าวังผา) นายภูวนาถ เจริญรัตนนุกุล
                       (บ้านสันเจริญ) นายสันติภาพ แซ่คํา (บ้านสบเป็ด อ.ท่าวังผา) และชาวบ้านทั้ง 7 หมู่บ้านที่เสียสละ

                       เวลาให้ความรู้และข้อมูลกับทีมวิจัยตลอดระยะเวลา 14 เดือน และร่วมให้ความเห็นต่อผลการศีกษา

                   •  เจ้าหน้าที่สํานักงานเกษตรจังหวัดและสํานักงานเกษตรอําเภอปัว ทุ่งช้าง ท่าวังผา ที่ช่วยประสานงาน
                       ให้คําแนะนําเกี่ยวกับพื้นที่ และร่วมให้ความเห็นต่อผลการศึกษา

                   •  หัวหน้าบัณฑิต ฉิมชาติ หน่วยจัดการต้นน้ําน้ํามีดและทีมงาน ที่ช่วยเหลือประสานงานและให้กําลังใจ

                       ตลอดระยะเวลาที่ทําวิจัยและความเห็นต่อผลการศึกษา
                   •  ผู้เข้าร่วมการประชุมสัมมนาในพื้นที่ จ.น่าน ทั้ง 2 ครั้ง จากหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคม

                       น่าน และผู้เข้าร่วมการสัมมนาในกรุงเทพฯ สําหรับความเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อย่าง

                       มากในการพัฒนางานวิจัยให้มีความสมบูรณ์
                   •  ผู้ช่วยวิจัย น.ส. บุญธิดา เสงี่ยมเนตรนายอาณกร รังษีวงศ์ น.ส. นันทนิตย์ ทองศรี น.ส. ชุติกา เกียรติ

                       เรืองไกร สําหรับความช่วยเหลือทุกด้านตลอดการทําวิจัย กําลังใจตลอดจนความทุ่มเท และขอบคุณ

                       นิ สิ ตทั้ งหมดที่ ช่ วยลงพื้ นที่ เก็ บข้ อมู ล
   1   2   3   4   5   6   7   8