Page 51 -
P. 51
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2.2.1 ระยะเวลาด าเนินการ
สหกรณ์ประมงพาน จ ากัด มีการด าเนินงานมาก่อนองค์กรชุมชนอีกเจ็ดแห่ง จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติ
สหกรณ์ในปี 2543 ด าเนินการต่อเนื่องมาแล้วสิบห้าปี กรรมการด าเนินการให้ข้อมูลว่าในระยะเริ่มต้นมีปัญหาการท า
บัญชีไม่ถูกต้องบ้าง แต่ได้แก้ไขตามค าชี้แจงของเจ้าหน้าที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปัจจุบันเป็นสหกรณ์ที่มีผล
ด าเนินการในระดับดี สหกรณ์จังหวัดคัดเลือกให้เป็นสหกรณ์ตัวอย่างและสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ที่สหกรณ์ฯ เป็น
ตัวอย่างแก่สหกรณ์อื่นๆ
สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงและแปรรูปสัตว์น ้านครนายก จ ากัด มีเวลาด าเนินการมาน้อยที่สุดโดยจดทะเบียนในปี
2556 มีทุนด าเนินงานจ ากัด ยังไม่สามารถจ้างพนักงานประจ าท างานที่ที่ท าการสหกรณ์ฯ ได้ การท าบัญชีและรายงาน
ประจ าปีอยู่ในความดูแลของเลขานุการคณะกรรมการด าเนินงาน โดยได้รับค าแนะน าและความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์และเจ้าหน้าที่จากสหกรณ์จังหวัด
สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งที่ศึกษาทั้งสี่สหกรณ์จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ใกล้เคียงกัน คือในช่วงปี 2549-
2550 ในบางพื้นที่เช่นที่สามร้อยยอดเกษตรกรมีการรวมกลุ่มกันเป็นชมรมผู้เลี้ยงกุ้งมาก่อนที่จะจดทะเบียนเป็นสหกรณ์
การจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ในช่วงนี้เกิดจากการได้รับการชักชวนจากประธานคณะกรรมการด าเนินการชุมนุมผู้เลี้ยงกุ้ง
แห่งประเทศไทย จ ากัด ให้จดทะเบียนเป็นสหกรณ์ และร่วมกันท าพันธสัญญารวบรวมผลผลิตกุ้งส่งให้ห้องเย็น ทั้ง
ในช่วงที่กรมประมงมีโครงการเสถียรภาพราคากุ้ง จ่ายชดเชยค่ากุ้งให้เกษตรกรในช่วงราคาตกต ่า ผู้ขอรับการชดเชย
ต้องเป็นนิติบุคคล เกษตรกรต้องเป็นสมาชิกสหกรณ์จึงจะขอรับค่าชดเชยได้ ปัจจุบันโครงการนี้หยุดด าเนินการไปแล้ว
และชุมนุมสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งฯ ก็ล้มเลิกไปเนื่องจากบางสหกรณ์ลาออก ชุมนุมฯ มีสมาชิกไม่ครบตามจ านวนขั้นต ่าที่
กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนดไว้ส าหรับการเป็นชุมนุมสหกรณ์ ในการท าพันธสัญญาที่ผ่านมามีสองสหกรณ์คือสหกรณ์ผู้
เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าสามร้อยยอด-ปราณบุรี จ ากัด และ สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าท่าทอง จ ากัด ที่สามารถรวบรวมผลผลิตส่งให้
ห้องเย็นได้ตามพันธสัญญา ปัจจุบันสหกรณ์ฯเหล่านี้ยังติดต่อกันในลักษณะเครือข่าย แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหว่างกัน
เฉพาะสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าปากพนัง จ ากัด เป็นสหกรณ์ที่ได้รับความส่งเสริมจากเจ้าหน้าที่ประมงในพื้นที่
ให้เกษตรกรรวมกันเป็นสหกรณ์ฯ ทั้งนี้เนื่องจากบ่อเลี้ยงกุ้งอยู่ในพื้นที่โครงการพระราชด าริปากพนังที่มีการจัด
ชลประทานน ้าเค็มเพื่อการเลี้ยงกุ้ง แยกออกมาจากเขตพื้นที่น ้าจืดที่ท าการเพาะปลูก ได้รับความสนับสนุนทั้งจาก
เจ้าหน้าที่กรมประมงและเจ้าหน้าที่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่ให้ความรู้และให้การอบรมหลักการสหกรณ์เพื่อให้
เกษตรกรสามารถรวมกลุ่มกันเป็นสหกรณ์ได้ ทั้งกรมประมงยังอนุเคราะห์สถานที่ให้เป็นที่ท าการในช่วงที่ก่อตั้ง
กลุ่มเกษตรกรสองกลุ่มที่ศึกษาคือกลุ่มเกษตรกรเครือข่ายผู้เลี้ยงปลากะพง จังหวัดฉะเชิงเทรา และกลุ่ม
เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น ้าต าบลท่าซุง เริ่มด าเนินการในปี 2552 และ 2551 ตามล าดับ โดยที่ฉะเชิงเทราไม่ได้จดทะเบียน
เป็นนิติบุคคล เป็นการรวมกลุ่มกันในลักษณะกลุ่มธรรมชาติ โดยมีผู้น าเป็นเกษตรกรในพื้นที่ มีทั้งที่เป็นผู้รวบรวม
ผลผลิต และที่เป็นผู้ขายปัจจัยการผลิต จัดตั้งกลุ่มแล้วท าทั้งบริการปัจจัยการผลิตและรวบรวมผลผลิตให้สมาชิกกลุ่ม
ผู้น าเป็นผู้ที่มีทักษะในการเลี้ยงสัตว์น ้าให้ค าแนะน าการเลี้ยงตลอดจนการใช้อาหารส าเร็จรูปเลี้ยงปลากะพงได้
กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น ้าต าบลท่าซุง อยู่ในอ าเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี เป็นกลุ่มเกษตรกรที่จดทะเบียน
เป็นนิติบุคคล เป็นผู้เลี้ยงสัตว์น ้าในกระชังเป็นส าคัญ ผู้น ากลุ่มเป็นผู้ใหญ่บ้านซึ่งมีความสามารถในการติดต่อ
ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน การรวมกลุ่มเป็นนิติบุคคลช่วยให้ความสะดวกในการ
ประสานงานตลอดจนการขอรับความสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ กลุ่มเกษตรกรแห่งนี้สามารถด าเนินงานได้รับ
ผลส าเร็จและการยกย่องให้เป็นกลุ่มเกษตรกรตัวอย่าง
2-5