Page 50 -
P. 50

3-19





              ตารางที่ 3-3 การเปรียบเทียบสาระสําคัญของนโยบายน้ําแหงชาติ (พ.ศ. 2543) กับยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา (พ.ศ. 2558)

                                                     นโยบายน้ําแหงชาติ                                             ยุทธศาสตรการบริหารจัดการน้ํา (พ.ศ. 2558-2569)
                                             (มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 31 ตุลาคม 2543)                                   (มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 7 พฤษภาคม 2558)
              1. เรงรัดใหมีพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําเปนกฎหมายหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศ โดยทบทวน และปรับปรุงราง มีสาระสําคัญในยุทธศาสตรที่ 6 การบริหารจัดการ ในบทที่ 5 แผนงานที่ 1 แผนงาน
              พระราชบัญญัติที่มีอยู และเรงดําเนินการตามขั้นตอนเพื่อใหสามารถนําไปสูการมีผลบังคับใช รวมทั้งจะตองพิจารณาปรับปรุง แกไข กฎหมายและ ปรับปรุงองคกรการบริหารจัดการน้ําใน     ภาวะปกติ และภาวะวิกฤติ รวมทั้ง
              ระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวของใหสอดคลอง                                                       แผนงานที่ 2 แผนงานผลักดัน (ราง) พ.ร.บ. ทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... ซึ่งมีเปาหมายใน
                                                                                                          การปรับปรุงแกไขกฎหมายที่มีอยูเดิมและตรากฎหมายแมบททรัพยากรน้ําขึ้นใหม
              2. จัดใหมีองคกรเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรน้ําทั้งในระดับชาติ ในระดับลุมน้ําและระดับทองถิ่นที่มีกฎหมายรองรับ โดยใหองคกรระดับชาติมี มีสาระสําคัญในยุทธศาสตรที่ 6 การบริหารจัดการในบทที่ 5 แผนงานที่ 1 แผนงาน
              หนาที่ในการกําหนดนโยบาย กํากับและประสานใหเกิดการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติและใหองคกรระดับทองถิ่นมีหนาที่ในการจัดทําแผนการ ปรับปรุงองคกรการบริหารจัดการน้ําในภาวะปกติและภาวะวิกฤติ มีเปาหมายในการ
              บริหารจัดการน้ําในลุมน้ําโดยใหผูมีสวนเกี่ยวของไดมีสวนรวม                            ปรับปรุงองคประกอบและอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติและ
                                                                                                          คณะกรรมการลุมน้ํา แผนงานที่ 2 แผนงานผลักดัน  (ราง) พ.ร.บ. ทรัพยากรน้ํา พ.ศ.
                                                                                                          .... ซึ่งมีเปาหมายใหมีบทบัญญัติที่มีการแตงตั้งคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ
                                                                                                          และคณะกรรมการลุมน้ํา พรอมทั้งกําหนดหนาที่ไวในพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา
                                                                                                          ดวย
              3. เนนการจัดสรรน้ําที่เหมาะสมและเปนธรรมสําหรับการใชน้ําดานตางๆ ทั้งเพื่อตอบสนองตามความจําเปนพื้นฐานดานเกษตรกรรมและอุปโภค มีสาระสําคัญในยุทธศาสตรที่ 2 การสรางความมั่นคงของน้ําภาคการเกษตร (เกษตร  โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
              บริโภค โดยจัดลําดับความสําคัญของประเภทการใชน้ําในแตละพื้นที่ใหมีการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืนภายใตกติกาการจัดสรรน้ําที่ชัดเจน  และอุตสาหกรรม) โดยกําหนดกลยุทธการจัดการดานความตองการ ใหมีการศึกษา
              และใหผูใชน้ํามีสวนรับผิดชอบในการไดรับบริการ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสามารถในการมีสวนรวมของผูรับบริการและระดับการใหบริการ   ตรวจสอบเกณฑการจัดสรรน้ําในลุมน้ําตางๆ
              4. กําหนดทิศทางที่ชัดเจนในการจัดหาน้ําและพัฒนาแหลงน้ําเพื่อจัดหาน้ําตนทุนที่สอดคลองกับศักยภาพและความตองการ มีคุณภาพเหมาะสม มีสาระสําคัญในยุทธศาสตรที่ 1 การจัดการน้ําอุปโภคบริโภค ที่มีเปาประสงคจัดหา
              สําหรับทุนกิจกรรมโดยคํานึงถึงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ และสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของเปนสําคัญ   น้ําสะอาดเพื่ออุปโภคบริโภคใหแกชุมชนครอบคลุมทุกหมูบานและชุมชนเมือง
                                                                                                          รวมทั้งในพื้นที่เศรษฐกิจและแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ รวมทั้งยุทธศาสตรที่ 2 การ
                                                                                                          สรางความมั่นคงของน้ําภาคการผลิต การเกษตรและอุตสาหกรรมที่มีเปาประสงค
                                                                                                          บริหารจัดการความตองการใชน้ําดานการเกษตร อุปโภคบริโภค อุตสาหกรรม และ
                                                                                                          การทองเที่ยว ใหสมดุลกับน้ําตนทุนโดยเกิดประโยชนสูงสุด ลดการสูญเสียน้ํา เพิ่ม
                                                                                                          มูลคาน้ําชลประทาน และรักษาระบบนิเวศ
              5. จัดหาและพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการเกษตรใหแกเกษตรกรอยางทั่วถึงและเปนธรรม เพื่อตอบสนองความตองการขั้นพื้นฐานในการทําการเกษตร มีสาระสําคัญในยุทธศาสตรที่ 2  การสรางความมั่นคงของน้ําภาคการผลิต
              และอุปโภคบริโภค เชนเดียวกับการใหบริการขั้นพื้นฐานและรัฐดานอื่นๆ                          (การเกษตรและอุตสาหกรรม) ในดานการเกษตรมีกลยุทธในการจัดการดานความ
                                                                                                          ตองการ เพิ่มมูลคาการใชน้ําตอหนวยใหสูงขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพโครงการแหลงน้ํา
                                                                                                          และระบบชลประทานเดิม พัฒนาและฟนฟูแหลงน้ําในเขตเกษตรน้ําฝน รวมทั้งการ
                                                                                                          พัฒนาแหลงเก็บกักน้ําใหม การจัดหาแหลงน้ําตนทุนและพัฒนาระบบผันน้ําและ
                                                                                                          ระบบเชื่อมโยงแหลงน้ํา
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55