Page 80 -
P. 80

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-71




                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 มีการดําเนินการทั้งภัยแลงและอุทกภัยดังนี้

                                            (1) ภัยแลง
                                            เนื่องจากปริมาณฝนตั้งแต พ.ศ.2534 เปนตนมา มีปริมาณนอยจึงเกิด
               ความแหงแลงเกิดขึ้นทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2537 มีปริมาณน้ําในเขื่อนภูมิพลและสิริกิติ์รวมกันเพียง
               2,000 ลานลูกบาศกเมตร รัฐบาลไดจัดตั้งศูนยเฉพาะกิจเพื่อแกไขปญหาเรื่องน้ําขึ้นที่ทําเนียบรัฐบาลและ
               รัฐบาลไดจายคากระแสไฟฟาที่ใชในการสูบน้ําใหแกเกษตรกรที่ประสบภัยแลงในเขตโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา

               เปนกรณีพิเศษรวมทั้งมาตรการตางๆ (50)
                                     คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแผนงานการแกไขปญหาขาดแคลนน้ําและแนวทางการ
               พัฒนาน้ํา  ตามที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติเสนอ ดังนี้

                                            (1.1) เพิ่มการชวยเหลือดานการประมง และดานปศุสัตว (50)
                                            (1.2) จัดหาน้ําอุปโภค-บริโภค (50)
                                            (1.3) จัดสรางแหลงเก็บน้ําสาธารณะประจําหมูบานเพิ่ม (50)
                                            (1.4) กรมชลประทานมีประกาศหามมิใหใชน้ําจากทางน้ําชลประทานเพื่อ

               กิจการสนามกอลฟ (50)
                                            (1.5) รถบรรทุกน้ํา (50)
                                            (1.6) เจาะบอบาดาล (50)
                                            (1.7) ซอมแซมบอบาดาล (50)

                                            (1.8) กรมทรัพยากรธรณีขุดเจาะบอบาดาลเพื่อแกไขปญหาการขาดแคลน
               น้ําในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จํานวน 100 บอ (50)
                                            (1.9) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบโครงการน้ําเพื่อชีวิต :  การขยายทฤษฎีใหม
               ตามแนวพระราชดําริใหสวนราชการตางๆ นําไปปฏิบัติ (50)

                                     (2) อุทกภัย
                                            เกิดอุทกภัยจากพายุโซนรอน “ฟอเรสต” ในพื้นที่ภาคใตมีการชวยเหลือ โดย
                                            (2.1) แจกจายเครื่องอุปโภค-บริโภค (50)

                                            (2.2) ใหกรมทางหลวงพิจารณาการออกแบบถนนที่อาจกอปญหาน้ําทวม (50)
                                            (2.3) มีการควบคุมราคาสินคา (50)
                                            (2.4) กระทรวงสาธารณสุขเตรียมยา และเวชภัณฑ (50)
                                            (2.5) มีการปรับโครงสรางการผลิตการเกษตรและแผนฟนฟูการเกษตรใน
               พื้นที่ประสบอุทกภัยภาคใต (50)


                              ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 มีการดําเนินการทั้งภัยแลงและอุทกภัยดังนี้
                                     (1) ภัยแลง
                                     สืบเนื่องจากในป พ.ศ. 2540 มีฝนตกนอยเกิดปญหาการขาดแคลนน้ําโดยเฉพาะใน

               พื้นที่ลุมน้ําเจาพระยา รัฐบาลไดตั้งศูนยเฉพาะกิจเพื่อแกไขปญหาเรื่องน้ําขึ้นในสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
               เพื่อทําหนาที่ประสานงานระหวางหนวยงานตางๆ (53)
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85