Page 81 -
P. 81
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
16-72
มีการชวยเหลือราษฎรที่ประสบภัยแลง ดังนี้
(1.1) มีการทําฝนหลวง ภาคกลาง ภาคใตตอนบน หรือภาคตะวันตก (53)
(1.2) จายคากระแสไฟฟาที่ใชในการสูบน้ําเพื่อการเกษตรใหแกเกษตรกร (53)
(1.3) มีการเตรียมการรองรับสถานการณภัยแลง เชน ตั้งศูนยเฉพาะกิจ
เตรียมรถบรรทุกน้ํา ซอมแซมบอบาดาล เปาลางบอบาดาล เตรียมระบบประปาหมูบาน ภาชนะเก็บกักน้ํา
กลางในหมูบาน (53)
(1.4) เตือนภัยลวงหนา (53)
(1.5) จัดเตรียม พันธุพืช พันธุสัตว ฯลฯ (53)
(1.6) จัดเตรียมเครื่องสูบน้ํา (53)
(1.7) มีการใชระบบหมุนเวียนการใชน้ําในแมน้ําแมปงและแมน้ํานาน โดย
สลับการสูบจังหวัดละ 3 วัน หยุดสูบ 6 วัน โดยจัดคูในลําน้ําแมปงและลําน้ํานานดังนี้ ตาก-อุตรดิตถ
กําแพงเพชร-พิษณุโลก นครสวรรค-พิจิตร และสุโขทัย (แมน้ํายม) (53)
(2) อุทกภัย
(2.1) ธ.ก.ส งดคิดดอกเบี้ยเงินกูใหแกเกษตรที่ประสบอุทกภัยตามแผน
ปรับโครงสรางและระบบการเกษตรและแผนฟนฟูการเกษตร (53)
(2.2) จัดทําแผนปองกันอุทกภัยพื้นที่ลุมน้ําคลองอูตะเภา อําเภอหาดใหญ
จังหวัดสงขลา(53)
(2.3) จัดตั้งระบบเตือนภัย การเกิดอุทกภัยในพื้นที่เสี่ยงภัย (54)
(2.4) จัดทําแผนแนวทางการแกไขปญหาอุทกภัย จังหวัดอุดรธานี (54)
(2.5) ชวยเหลือคาซอมแซมบาน ที่อยูอาศัย หรือคาวัสดุสรางบานในกรณี
อุทกภัย จังหวัดเพชรบูรณ (54)
มีขอเสนอจัดตั้งกองทุนรวมบรรเทาความเสียหายทางการเกษตร (53)
ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) มีการดําเนินการดังนี้
(1) ภัยแลง
การแกไขปญหาภัยแลง ไดดําเนินการโดย
(1.1) มีการแจกจายน้ําดื่ม (55)
(1.2) จัดหาเครื่องสูบน้ํา (55)
(1.3) จัดหารถยนตบรรทุกน้ํา (55)
(1.4) ซอมแซมบอบาดาล (55)
(1.5) ขุดลอกแหลงน้ําธรรมชาติ (55)
(2) อุทกภัย
มีการดําเนินการหลายประการ คือ
(2.1) กําหนดนโยบายการจัดการพื้นที่น้ําทวมในแตละลุมน้ํา (55)
(2.2) ยกเวนคาธรรมเนียมรายปแกโรงงานในภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ในป 2544 เปนเวลา 5 ป (55)
(2.3) ฝกอาชีพใหแกราษฎรที่ประสบอุทกภัยในการซอมแซมบานเรือน
ยานพาหนะ เครื่องไฟฟา เปนตน (55)