Page 78 -
P. 78
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
16-69
(5) มีการจายคาชดเชยใหแกราษฎรที่ไดรับความเสียหายในระหวางการกอสรางฝาย
ธาตุนอย จ. อุดรธานี (53)
ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 มีการจัดหาที่ดินใหแกผูที่ไดรับความเดือดรอนจากการสราง
เขื่อนสิรินธร (53)
ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) มีการดําเนินการดังนี้
(1) มีการจายเงินชดเชยแกราษฎรที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อนน้ําอูน
จํานวน 1,067 ราย เพิ่มเติมจากเดิมรายละ 15 ไรๆละ 10,000.00 บาท (58, 59)
(2) มีการจายคาชดเชยใหแกราษฎรทีไดรับผลกระทบจากโครงการฝายราศีไศล (59)
(3) มีการจายคาชดเชยพิเศษแทนการจัดสรรแปลงอพยพโครงการกิ่วคอหมา จ.ลําปาง (59)
(4) มติคณะรัฐมนตรีและผลการการดําเนินการเรื่องการชวยเหลือราษฎรที่ประสบภัยพิบัติ
ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับตางๆ
มติคณะรัฐมนตรีและผลการการดําเนินการเรื่องการชวยเหลือราษฎรที่ประสบภัยพิบัติ ในชวง
แผนพัฒนาฯ ฉบับตางๆ มีรายละเอียดดังนี้
ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 คณะรัฐมนตรีมีมติวันที่ 14 ตุลาคม 2506 ใหชวย
ชาวนาที่นาเสียหาย โดยตั้งคณะกรรมการเพื่อชวยเหลือชาวนาที่เสียหาย โดยสนับสนุนคาสูบน้ําและคาจัดหา
พันธุขาว (29)
ในชวงฉบับที่ 2 เนื่องจากในป 2511 จึงไดเกิดภัยแลงในภาคใต ไดมีการจัดหาเครื่อง
สูบน้ําไปชวยเหลือ (31)
ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 ไดมีการแจกจายพันธุขาวและพันธุพืชใหแกเกษตรกร
ที่ประสบภัยธรรมชาติ ทั้งอุทกภัยและภัยแลงที่เกิดขึ้นในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ (33, 37)
คณะรัฐมนตรีไดรับหลักการโครงการปองกันอุทกภัย จังหวัดอุดรธานี เปนการ
ชลประทานที่เรงดวน อนึ่งไดเกิดอุทกภัยที่จังหวัดอุดรธานีอีกครั้งหนึ่งในป พ.ศ. 2543 (32)
ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 มีการดําเนินการทั้งภัยแลงและอุทกภัยดังนี้
(1) ภัยแลง
ในชวง พ.ศ. 2523-2524 ไดเกิดความแหงแลงที่สงผลกระทบตอ
ประชาชนจํานวนมาก มีปริมาณน้ําในเขื่อนภูมิพลและสิริกิติ์เมื่อเดือนมกราคม 2523 นอยมากและใน
ขณะนั้นแหลงพลังงานไฟฟาที่สําคัญมาจากเขื่อนภูมิพลและสิริกิติ์คณะรัฐมนตรีจึงไดมีมติใหหยุดการ
ออกอากาศของสถานีโทรทัศนทุกชองในชวงเวลา 18.00-20.00 น. เพื่อประหยัดน้ําในเขื่อนอยูระยะหนึ่ง
จนกระทั่งภาวะภัยแลงลดลงเขาสูภาวะปกติ (42) รวมทั้งดําเนินการดังนี้
(1.1) ไดมีการแจกจายน้ําอุปโภค-บริโภค แกราษฎรที่ประสบภัยแลง
(1.2) ใหเกษตรกรที่ประสบภัย ชําระเงินกูเปนผลิตผลได
(1.3) ชวยเหลือปุยในการทํานาปรัง
(1.4) ชวยเหลือคาไถพื้นที่เกษตรกรรม
(1.5) จัดทําแผนการปลูกพืชฤดูแลง
(1.6) จัดหาเครื่องสูบน้ํา และคาน้ํามันสูบน้ํา