Page 75 -
P. 75

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-66




                                     การแกปญหาการขาดแคลนน้ําในภาคตะวันออกทั้งเพื่อการอุปโภคบริโภค

               การเกษตรและอุตสาหกรรม ซึ่งเกิดปญหาอยางรุนแรงใน พ.ศ. 2548
                                     (2.1) ไดมีการขุดเจาะบอบาดาลน้ํามาเสริม (55)
                                     (2.2) มีการตอทอจากอางเก็บน้ําประแสร-คลองใหญ-หนองปลาไหล-การนิคม
               อุตสาหกรรม (55)
                                     (2.3) วางทอจากแมน้ําบางประกง ไปยังอางเก็บน้ําบางพระ (55)

                                     นอกจากนี้มีการแกไขปญหาการขาดแคลนน้ําในแหลงทองเที่ยวสําคัญ เชน ภูเก็ต และ
               เกาะสมุย (55)
                                     สวนในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 มีการวางทอเชื่อมจากอางเก็บน้ําหนองใหญ จังหวัด

               ระยอง เพื่อชวยเหลือภาคอุตสาหกรรมภาคตะวันออก (59)
                                     และในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ไดมีการกอสรางทอระบบสงน้ําคลองพระองคไชยานุชิต
               ถึงอางเก็บน้ําบางพระ ซึ่งเปนการผันน้ําจากลุมน้ําเจาพระยาฝงตะวันออก ไปยังอางเก็บน้ําบางพระ จังหวัด
               ชลบุรีเพื่อการแกไขการขาดแคลนน้ําในภาคตะวันออก (60)

                              (1.5) สวนมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการเรื่องโครงการสูบน้ําดวยไฟฟานั้นมี
               ดังตอไปนี้
                              ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 เรื่องโครงการสูบน้ําดวยไฟฟาของสํานักงานพลังงานแหงชาตินั้น
               คณะรัฐมนตรีมีมติใหเรงรัดโครงการสูบน้ําดวยไฟฟาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และบรรจุในแผนพัฒนา

               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 เปนตนไป (40)
                              ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 มีการชวยเหลือเกษตรกรในโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา
               จากสภาวะฝนแลงโดยชวยจายคาไฟฟาให (44)

                              ตอมาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 มีการดําเนินการคือ (1) มีการจายคากระแสไฟฟาที่ใช
               ในการสูบน้ําใหแกเกษตรกรที่ประสบภัยแลงในเขตโครงการสูบน้ําดวยไฟฟาเปนกรณีพิเศษ ตามมติ
               คณะรัฐมนตรี วันที่ 26 ตุลาคม 2536  (50  (2) มีการจายคากระแสไฟฟาที่ใชในการสูบน้ําใหแกเกษตรกรที่
               ประสบภัยแลง ในเขตโครงการสูบน้ําดวยไฟฟาเปนกรณีพิเศษ ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 24 กันยายน 2537 (50)

                      (2) มติคณะรัฐมนตรีและผลการดําเนินการเรื่องการพัฒนาการเกษตรชลประทาน ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับตางๆ
                             มติคณะรัฐมนตรี และผลการดําเนินการเรื่องการพัฒนาการเกษตรชลประทาน ในชวง
               แผนพัฒนาฯ ฉบับตางๆ มีรายละเอียดดังนี้
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 มีการกูเงินจากธนาคารโลก ในพ.ศ. 2505 เพื่อ

               พัฒนาการเกษตรและการชลประทานในพื้นที่ภาคกลางของประเทศ โดยการกอสรางคลองสงน้ํา เขื่อนกั้นน้ํา
               ขนาดเล็ก ปรับปรุงระบบการสงน้ําไปยังไร-นาของเกษตรกร ปรับระดับพื้นที่แปลงนาของเกษตรกร และ
               จัดตั้งสถานีทดลองการเกษตร (29) ตอมาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 2 ไดกําหนดใหจัดทํารายงานเกี่ยวกับ

               การพัฒนาการเกษตรสําหรับโครงการเจาพระยาใหญ จะตองเริ่มดําเนินการกอนวันที่ 1 มกราคม 2511 และแลว
               เสร็จกอนสิ้นเดือนกันยายน 2512 เพื่อคนหาปญหาตางๆ ทางดานเกษตรกรรม เศรษฐกิจและดานเทคนิค
               อันเปนอุปสรรคตอการขยายงานดานการปลูกพืชครั้งที่สองในพื้นที่ตอนบนของโครงการเจาพระยาใหญ และ
               วางแผนงานอยางละเอียดสําหรับการพัฒนาการเกษตร ในพื้นที่นี้ โดยเนนหนักไปในเรื่องการปลูกพืชสองครั้ง

               (31) ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 มีการดําเนินการที่สําคัญ คือ  (1)  มีการกูเงินจากธนาคารโลก เพื่อ
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80