Page 73 -
P. 73

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-64




                              (1.3) มติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการเรื่องการจัดหาน้ําอุปโภคและบริโภค

                                     มติคณะรัฐมนตรีและผลการดําเนินการเรื่องการจัดหาน้ําอุปโภคและบริโภคในชวง
               แผนพัฒนาฯ ฉบับตางๆ มีรายละเอียดดังนี้
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 มีการปรับปรุงโครงการจัดหาน้ําสะอาดในชนบท
               เพื่อใหประชาชนอุปโภคและบริโภค รวมทั้งการปรับปรุงการประปากรุงเทพและธนบุรี (30)
                                     ในชวงฉบับที่ 2 มีการดําเนินการสรางบอเก็บน้ําฝนทั่วประเทศ (31)

                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) มีการดําเนินการที่สําคัญ 2 เรื่องคือ
               (1) คณะรัฐมนตรีอนุมัติใหกูเงินจากธนาคารโลกเพื่อนํามาปรับปรุงกิจการของการประปานครหลวงในป 2516 (32)
               (2) มีการประกาศใชพระราชบัญญัติการประปานครหลวง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2518เพื่อใหการประปานครหลวง

               สามารถออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุน สําหรับจัดหาทุนมาปรับปรุงและขยายกิจการประปาได (36)
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) มีการดําเนินการหลายเรื่องคือ
               (1) มีการกอสรางอุโมงคสงน้ําของการประปานครหลวง (39) (2) มีการปรับปรุงขยายกิจการประปาเชียงใหม
               (39)  (3)  มีการปรับปรุงขยายการประปาเทศบาลตําบลหัวหิน  (39)  (4)  ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติ

               การประปาภูมิภาค พ.ศ. 2522 เพื่อใหสามารถบริหารจัดการหาน้ําสะอาดใหแกประชาชนมากยิ่งขึ้น โดยมีการ
               จัดตั้งการประปาภูมิภาคขึ้นเปนรัฐวิสาหกิจ (40) (5) มีการกําหนดมาตรการอนุรักษน้ําดิบเพื่อการประปานครหลวง
               (40)  (6)  มีการประชุมวางแผนโครงการจัดใหมีน้ําสะอาดในชนบททั่วราชอาณาจักรครั้งที่ 3  ที่จังหวัด
               ภูเก็ต ในป 2522 (41)

                                     ตอมาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) มีผลการดําเนินการคือ
               มีการโอนกิจการประปาในสังกัดกรมโยธาธิการ (การประปาขององคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล
               สุขาภิบาล) มาสังกัดการประปาสวนภูมิภาค (43)
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534)มีผลการดําเนินการหลายเรื่องคือ

               (1)  ไดมีการผันน้ําจากลุมน้ําแมกลองไปยังลุมน้ําเจาพระยาเพื่อการประปา โดยจัดตั้งโรงกรองน้ําที่ริมคลอง
               มหาสวัสดิ์ (44) (2) ขยายกําลังผลิตน้ําที่บางเขน เพื่อแกไขการขาดแคลนน้ําประปา (45) (3) แกไขปญหาการ
               ขาดแคลนน้ําประปาในเขตอําเภอหัวหิน โดยการกอสรางทอสงน้ําจากอางเก็บน้ําปราณบุรีมายังเทศบาล

               อําเภอหัวหิน  (45)  (4)  แกไขปญหาการขาดแคลนน้ําในเมืองพัทยา โดยนําน้ําจากอางเก็บน้ําหนองคอมาใช
               เปนการชั่วคราว (45) (5) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบใหขยายกิจการระบบประปาเมืองพัทยาของการประปาภูมิภาค
               (45) (6) จัดทําแผนเรงรัดใหมีน้ําสะอาดในชนบทดวยระบบประปาชนบท (47)
                                     ตอมาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) มีนโยบายและการ
               ดําเนินการดําเนินงานคือ (1)  คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการปรับปรุงกิจการประปาแผนหลักครั้งที่ 5 ของการประปานคร

               หลวง  (47)(2)  กําหนดมาตรการอนุรักษแหลงน้ําดิบเพื่อการประปาฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา และ
               แผนการผลิตน้ําประปาทางฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา (47) (3)  ปรับปรุงขยายกิจการประปาเทศบาล
               25  แหง  (47) (4)  สํานักงานเรงรัดพัฒนาชนบทดําเนินการจัดหาน้ําสะอาดในลักษณะการประปาชนบท

               จํานวน 5,000  หมูบาน ภายใน 4  ป  (50) (5) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบโครงการเอกชนรวมลงทุนกับประปาสวน
               ภูมิภาค (50) (6) มีการศึกษาเรื่องโครงการอางเก็บน้ําใตดิน จังหวัดระยอง (50)
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78