Page 72 -
P. 72

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-63




                              (1.2) มติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการเรื่องน้ําบาดาลในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับตางๆ

                                     มติคณะรัฐมนตรีและผลการดําเนินการเรื่องน้ําบาดาลในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับตางๆ
               มีรายละเอียดดังนี้
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 ในป พ.ศ. 2506 มีการจัดตั้งคณะกรรมการน้ํา
               บาดาลเพื่อพัฒนาน้ําบาดาล (29)
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติน้ําบาดาล พ.ศ. 2520

               (39) และไดมีการดําเนินโครงการพัฒนาน้ําใตดินจังหวัดสุโขทัย ในป 2522 (41)
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) มีผลการดําเนินการคือ (1) ในป
               พ.ศ. 2526 ไดมีการประกาศเขตควบคุมวิกฤติน้ําบาดาล และแผนดินทรุด ครอบคลุมพื้นที่ 4 จังหวัด คือ

               กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ (43) (2) มีการพัฒนาน้ําใตดิน Zone  1  ที่จังหวัด
               สุโขทัย (43)
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 มีการมีการขุดเจาะบอบาดาลในหมูบานที่ขาดแคลนน้ํา
               ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (45)

                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) มีการดําเนินการหลายเรื่อง เชน
               (1) การประกาศใชพระราชบัญญัติน้ําบาดาล (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 (47) (2) ขุดเจาะบอบาดาลชวยภัยแลงที่
               จ.กาญจนบุรี ขอนแกน และแพร  (49) (3) ไดมีการขุดเจาะบอบาดาลระดับตื้น (บอตอก) เพื่อการเกษตรจํานวน
               50,000 บอ (50) (4) ไดมีการขุดเจาะบอบาดาลในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวน 100 บอ (50)

               (5) เรงรัดการซอมบอบาดาล  (50) (6) มีการปรับราคาน้ําบาดาลใหใกลเคียงกับน้ําประปา  (50) (7) มีการ
               ประกาศใชกฎกระทรวงฉบับที่ 8 พ.ศ. 2537 กําหนดเขตน้ําบาดาลและกําหนดความลึกของน้ําบาดาลทั่วประเทศ
               (50) (8) มีการประกาศขยายเขตควบคุมวิกฤติการณน้ําบาดาลและแผนดินทรุด ในป พ.ศ. 2538 จากที่เคย
               ประกาศไวเดิม 4 จังหวัด ในพ.ศ.2526 คือเพิ่มจังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร (50)

                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2545) มีผลการดําเนินการดังนี้
               (1) คณะรัฐมนตรีมีมติใหจัดตั้งกองทุนหมุนเวียนน้ําบาดาล  (53) (2) จัดหาน้ําประปาทดแทนน้ําบาดาลเพื่อ
               ปองกันแผนดินทรุด ในจังหวัดปทุมธานี (53) (3) มีนโยบายเติมน้ําลงชั้นน้ําบาดาลเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม (53)

                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) มีผลการดําเนินการคือ (1)
               ยุติการใหใชน้ําบาดาล หากระบบน้ําประปาเขาถึงหรือเชื่อมตอกับระบบประปาไดแลว (55) (2) การกําหนดอัตราคา
               อนุรักษน้ําบาดาล เพื่อลดการทรุดตัวของแผนดิน (55)
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 มีการติดตามการทรุดตัวของพื้นดินใน
               กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (56)

                                     ตอมาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2554-2559) มีผลการดําเนินการคือ
               (1) มีการออกกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการอนุญาต ประกอบกิจการน้ําบาดาล
               และกําหนดการใชน้ําบาดาล (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 (60) (2) มีการนําน้ําบาดาลมาแกไขปญหาการขาดแคลนน้ํา

               ในชวง พ.ศ. 2557-2558 ทั้งเพื่อการเกษตรและอุปโภคบริโภค (61)
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77