Page 82 -
P. 82

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-73




                                            (2.4) จัดทําแผนปฎิบัติการแกไขปญหาการเกิดอุทกภัยฉับพลัน ในพื้นที่เสี่ยง

               ทั้งประเทศ ที่เปนระบบมากยิ่งขึ้น ตั้งแตการจัดตั้งศูนยขอมูลสาธารณภัย การเฝาระวังเตือนภัย การอบรมให
               ความรูเรื่องการจัดการอุทกภัยและดินโคลนถลมทั้งเจาหนาที่และผูนําชุมชน การฝกซอมบรรเทาอุทกภัย และ
               การอพยพราษฎรในพื้นที่เสี่ยงภัย (55)
                                            (2.5) ขุดลอก หวยหนอง คลอง บึง บาง ลําน้ํา เปนตน (55)
                                            (2.6) มีการเตรียมการ แกปญหาลวงหนาคอนขางรัดกุม โดยจัดทําระบบ

               Early Warning (55)
                                            (2.7) มีการสํารวจ และจัดทําขอมูลเกี่ยวกับทางไหลของน้ําและจุดตัดกับ
               ถนนสายตางๆ ทั่วประเทศที่จําเปนตองกอสราง หรือแกไขใหเปนทางระบายหรือทางลอดของน้ํา มีถนน

               ขวางทางน้ํา จํานวน 3,848 แหง (55)

                              ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) มีการดําเนินการดังนี้
                                     (1) ภัยแลง

                                     การชวยเหลือราษฎรที่ประสบภัยแลง ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ประกอบดวย
                 ในเดือนกรกฎาคม 2550 ไดเกิดภัยแลงจังหวัดรอยเอ็ดและกาฬสินธุ ตอมาในเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม 2552 มี
               พื้นที่ประสบภัยแลง รวม 25 จังหวัด ไดมีการชวยเหลือ คือ
                                            (1.1) แจกจายน้ําอุปโภค-บริโภค (56, 59)
                                            (1.2) สรางฝายชั่วคราวปดกั้นลําน้ํา (56, 59)

                                            (1.3) ขุดลอกแหลงน้ํา (56, 59)
                                            (1.4) มีการขึ้นทะเบียนเกษตรผูปลูกขาว มีการทําประชาคมเพื่อตรวจสอบ
               พื้นที่นาปรัง (59)

                                     (2) อุทกภัย
                                     ไดเกิดอุทกภัยในเดือนสิงหาคม-ตุลาคม 2549 มีพื้นที่ประสบภัย 47 จังหวัด และ
               เกิดอุทกภัยจังหวัดเพชรบูรณ ในเดือนกันยายน 2550 มีการชวยเหลือประชาชนเชนเดียวกับในชวงที่ผานมา คือ
                                            (2.1) ใหการชวยเหลือดานสาธารณสุขแกผูประสบภัย (56)

                                            (2.2) แจกจาย น้ําดื่ม อาหาร ขาวสาร (56)
                                            (2.3) สูบลางบอน้ําตื้น ซอมแซมบอบาดาล (56)
                                            (2.4) ชวยเหลือเกษตรกรที่น้ําทวมเกิน 50 วัน จํานวนรอยละ 50 ของ
               รายไดที่ควรไดรับ (56)

                                            (2.5) พักชําระหนี้ รวมทั้งการกูเงินใหมเพื่อลงทุนโดยไมจายดอกเบี้ย (56)
                                            (2.6) ไดมีการจัดทําแผนแมบทอุทกภัย วาตภัย และโคลนถลม โดย
               สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (56)
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87