Page 84 -
P. 84

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-75




                                            2. มาตรการชะลอหรือขยายระยะเวลาชําระหนี้ที่เกษตรกรมีภาระหนี้กับ

               สถาบันการเงิน
                                            3. มาตรการจางงานเพื่อสรางรายไดใหแกเกษตรกร
                                            4. มาตรการเสนอโครงการตามความตองการของชุมชนเพื่อบรรเทาผลกระทบภัยแลง
                                            5. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ํา
                                            6. มาตรการเพิ่มปริมาณน้ําตนทุน

                                            7. มาตรการเสริมสรางสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
                                            8. มาตรการสนับสนุนอื่นๆ
                                     (5) ดานการแกไขปญหาอุทกภัยนั้น ยุทธศาสตรการบริหารจัดการน้ํา (พ.ศ. 2558-2569)

               โดยยุทธศาสตรที่ 3 การจัดการน้ําทวมและอุทกภัย มีเปาหมายตามศักยภาพ ดังนี้
                                            (1) ลําน้ําสายหลักและสาขาไดรับการปรับปรุง เพิ่มอัตราการไหลมากกวา
               รอยละ 10 รวมระยะ 870 กิโลเมตร ปองกันน้ําทวมในพื้นที่ชุมชนเมือง/พื้นที่เศรษฐกิจ จํานวน 185 แหง
                                            (2) เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ํา ลดความเสียหายจากน้ําหลากลนตลิ่ง

               ลุมน้ําเสี่ยงภัยน้ํา ลนตลิ่งและความเสียหายสูงในลุมน้ําวิกฤติ 10 ลุมน้ํา
                                            (3) พัฒนาพื้นที่รับน้ํานองในลุมน้ําเจาพระยาเพื่อชะลอน้ําหลากขนาดใหญ
                                            (4) ปองกันน้ําทวมในพื้นที่ชุมชนเมือง/พื้นที่เศรษฐกิจ จํานวน 185 แหง
                                            (5) จัดทํา/ปรับปรุงผังการใชประโยชนที่ดิน/ลุมน้ํา 15 แหง

                                            (6) สนับสนุนการปรับตัวและหนีภัย โดยเฉพาะกลุมลุมน้ําเจาพระยาใหญ/
               กลุมลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                            นอกจากนี้ในยุทธศาสตรที่ 2 การสรางความมั่นคงของภาคการผลิต
               (เกษตรและอุตสาหกรรม) และในยุทธศาสตรที่ 5 การอนุรักษฟนฟูสภาพปาตนน้ําที่เสื่อมโทรมและปองกัน

               การพังทลายของดิน จะเปนเรื่องที่ชวยลดปญหาอุทกภัยลงในอนาคต

                      (5) มติคณะรัฐมนตรีและผลการดําเนินการในการแกไขปญหาคุณภาพน้ํา
                              มติคณะรัฐมนตรีและผลการดําเนินการในการแกไขปญหาคุณภาพน้ํา ไดเริ่มในชวง

               แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 2 โดยมีการจัดทําแผนหลักโครงการระบายน้ํา น้ําโสโครกและปองกันน้ําทวม สําหรับ
               จังหวัดพระนครและธนบุรี (31)
                                     ตอมาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดดําเนินโครงการขจัดน้ํา
               ทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมบริเวณแมน้ําแมกลอง (32)

                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 กระทรวงอุตสาหกรรมไดควบคุมการปลอยน้ําเสียจาก
               โรงงานอุตสาหกรรมลงสูแมน้ําแมกลอง ในเขตจังหวัดราชบุรีและกาญจนบุรี (40)
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) มีการดําเนินงานหลายเรื่องเชน
               (1) มีการศึกษาความเหมาะสมของโครงการจัดตั้งระบบกําจัดน้ําเสียที่รังสิต จังหวัดปทุมธานี (45)

               (2) กําหนดใหโครงการแกไขปญหาน้ําเนาเสียในคลองผดุงกรุงเกษมเปนโครงการเรงดวนเพื่อเปนโครงการนํา
               รอง (45) (3) ดําเนินการควบคุมการกําจัดน้ําเสียจากโรงแรมและอาคารชุด (45) (4) มีการจัดทําโครงการจัด
               วางระบบบําบัดน้ําเสียในกรุงเทพมหานคร เชียงใหม ภูเก็ต พัทยา และสกลนคร (47) (5) คณะรัฐมนตรีอนุมัติ

               หลักการโครงการบําบัดน้ําเสียกรุงรัตนโกสินทร (47)
                                     นอกจากนี้ไดกําหนดให ป พ.ศ. 2534 เปนปขจัดน้ําเสีย (45)
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89