Page 90 -
P. 90
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
w = นํ้าหนัก (ความสําคัญ หรือ ค่า) ของงาน i
i
และสําหรับตารางการผลิตที่ได้จัดทําขึ้นเราจะกําหนดตัวแปรเพื่อใช้วัดผลการจัดตารางการผลิต
ดังนี้
C = เวลาแล้วเสร็จของงาน i
i
F C r = เวลาไหลอยู่ในระบบของงานงาน i
i
i
i
L C d = ความล่าช้าจากวันกําหนดส่งของงาน i ( ถ้า L < 0 แสดงถึงส่ง
i
i
i
i
ก่อนกําหนด)
T max i L , 0 = เวลาส่งไม่ทันกําหนดของงาน i
i
E max L = เวลาส่งก่อนกําหนดของงาน i
, 0
i
i
q = เวลางาน i รอคอยเครื่องจักร k
ik
I = เวลาเครื่องจักร k ว่างงาน
k
i 1 = ถ้างาน i เป็นงานที่ส่งไม่ทันกําหนด
i 0 = ถ้างาน i เป็นงานที่ส่งทันกําหนด
C
C max max = เวลาแล้วเสร็จสูงสุดจากทุกๆงาน หรือ ช่วงกว้างการทํางาน
i
i n , 1
ทั้งหมด(Makespan)
L
L max max = เวลาเบี่ยงเบนสูงสุดจากทุกๆงาน
i
i n , 1
T
T max max = เวลาส่งไม่ทันกําหนดสูงสุดจากทุกๆงาน
i
i n , 1
สําหรับการวัดผลการดําเนินงานของตารางการผลิตที่ได้กล่าวถึงข้างต้นสามารถจะแสดง
การคํานวณได้ดังนี้
n
• เวลางานไหลในระบบรวม(Total Flow Time) C
i
i 1
• เวลางานไหลในระบบโดยเฉลี่ย(Average Job Flow Time - F )
n
C i
F i1
n
• ผลรวมของนํ้าหนักเวลางานไหลในระบบ(Total Weighted flow time) = ผลรวมของ
n
นํ้าหนักเวลางานไหลในระบบของแต่ละงาน = w i C
i
i 1
• จํานวนงานอยู่ในระบบโดยเฉลี่ย(Average number of job in system - n) หรือ พัสดุคงคลัง
งานระหว่างผลิตโดยเฉลี่ย(Average WIP Inventory) = (ผลรวมเวลางานไหลในระบบของ
แต่ละงาน/ช่วงกว้างการทํางานทั้งหมด(Makespan)