Page 99 -
P. 99

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        95






                     9.6 การเขาคูแนบชิดกันของโครโมโซมในระหวางการแบงเซลลแบบไมโตซิส



                               โดยปกติโครโมโซมคูเหมือนจะมาเขาคูแนบชิดกัน (synapsis) ในกระบวนการแบงเซลล
                     แบบไมโอซิส อยางไรก็ตามโครโมโซมคูเหมือนอาจมาเขาคูแนบชิดกันไดในกระบวนการแบงเซลล

                     แบบไมโตซิส เรียกวา โซมาติค แพริง (somatic pairing) หรือ ไซมาติค ไซแนบซิส (somatic synapsis)

                     (รูปที่ 9.5) โซมาติค แพริง พบเกิดขึ้นทั้งในเซลลพืชและสัตว แตพบเห็นเดนชัดในแมลงพวก Diptera

                     โดยพบเกิดขึ้นบอยในเซลลตอมน้ําลาย โครโมโซมคูเหมือนจะมาเขาคูแนบชิดขนานกันไปตลอด
                     ระยะอินเตอรเฟส ตอมาการจับคูจะคอย ๆ ลดลงเมื่อเขาสูระยะเมตาเฟส การเขาคูแนบชนิดกันของ

                     โครโมโซมคูเหมือนในระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส และไมโตซิสจะแตกตางกันตรงที่วา ใน

                     ไมโอซิสโครโมโซมคูเหมือนเพียง 2 แทงเทานั้นที่มาเขาคูกัน ถึงแมวาจะมีโครโมโซมคูเหมือน
                     มากกวา 2 แทงในเซลลเชน พวกไตรโซมิค (trisomic)  หรือทริพลอยด (triploid)  ที่มีโครโมโซมคู

                     เหมือน 3 แทง โดยโครโมโซมแทงที่เกินมาจะไมเขาคูแนบชิดกับโครโมโซมคูเหมือน สําหรับโซมา

                     ติด แพริงที่เกิดขึ้นในเซลลตอมน้ําลายที่เปนทริพลอยดโครโมโซมคูเหมือนทั้ง 3 แทงจะมาเขาคูแนบ
                     ชิดกันในระหวางการแบงเซลลแบบไมโตซิส



























                     รูปที่ 9.5  เปรียบเทียบการเขาคูแนบชิดกันของโครโมโซมคูเหมือน (synapsis) ในระหวางการแบง

                               เซลลแบบไมโอซิสและไมโตซิส
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104