Page 94 -
P. 94

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        90


































                     รูปที่ 9.1  ปรากฏการณโพลีทีนี (polyteny) และเอนโดโพลีพลอยดี (endopolyploidy) ซึ่งเปนผล
                               เนื่องมาจากการเกิดเอนโดไมโตซิส (endomitosis)



                               โพลีทีนีพบในนิวเคลียสของเซลลตอมน้ําลาย  (salivary gland)  เซลลพี่เลี้ยง  (nurse cell)
                     และเซลลเนื้อเยื่อตัวออนหรือตัวหนอน (larva) ของแมลงพวก Diptera ซึ่งไดแก หนอนแดง แมลงหวี่

                     แมลงวันผลไม  และยุงกนปลอง  และเซลลเนื้อเยื่อลําไสของตัวออนยุง  สวนเอนโดโพลีพลอยดีเปน

                     กระบวนการปกติที่เกิดขึ้นในเซลลพืชและสัตว      ในพืชดิพลอยดบางชนิดพบเซลลที่มีจํานวน
                     โครโมโซมมากกวา 2 ชุด (polyploidy cell) ในเนื้อเยื่อทอน้ําทออาหาร (vascular tissue) ของราก ซึ่ง

                     เปนผลเนื่องมาจากการเกิดเอนโดไมโตซิส  ในพืชตระกูลถั่ว  เชน  คลอเบอร  (red clover)  ถั่วเวช

                     (common vetch)  และถั่วลันเตา  (garden pea)  ที่รากจะพบปม  (nodule)  ที่เกี่ยวของกับการตรึง

                     ไนโตรเจน        ซึ่งที่ปมเหลานี้มักพบกลุมเซลลบางเซลลที่มีจํานวนโครโมโซมเพิ่มขึ้นเปนสองเทา
                     เนื่องจากเกิดเอนโดไมโตซิส เชน ในถั่วเวชเซลลปกติมีจํานวนโครโมโซม 2n = 12  แตพบเซลลที่มี

                     จํานวนโครโมโซม 2n = 24, 48 และ 96 ในสัตวพบเอนโดโพลีพลอยดีมากที่สุดในแมลง เชน ในเซลล

                     ตอมน้ําลายของแมลงน้ําชนิดหนึ่ง  (Gerris lateralis, 2n = 21  ชนิด  XO)  พบเซลลจํานวนมากที่มี
                     จํานวนโครโมโซมเพิ่มขึ้นเปน 512 1,024 และ 2,048 เทา
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99