Page 92 -
P. 92

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        88






                     ของคัพภะจะขยายขนาดใหญขึ้นจนกลายเปนใบเลี้ยง (cotyledon) และทําหนาที่เชนเดียวกับเอนโด

                     สเปรม นอกจากนี้ยังเปนองคประกอบสวนใหญของเมล็ดดวย

                               ในการผสมพันธุระหวางพืชตางชนิดหรือตางสกุลกันมาก ๆ เมล็ดที่ไดเมื่อนําไปปลูก
                     มักจะไมงอก เนื่องจากการตายของคัพภะ (embryo abortion) ทั้งนี้เปนผลเนื่องมาจากเอนโดสเปรม

                     สลายตัวไปกอน อยางไรก็ตามเราสามารถชวยชีวิตคัพภะได (embryo rescue) โดยการนําคัพภะออน

                     (immature embryo) มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะหเพื่อชักนําใหคัพภะพัฒนาไปเปนตนได



                     บรรณานุกรม



                     Cook, S.A. 1965. Reproduction, Heredity and Sexuality. Macmillan, London.


                     Schulz-Schaeffer, J. 1980. Cytogenetics : Plants Animals, Humans. Springer-Verlag New York Inc.,

                          New York.


                                                             th
                     Stern, K.R. 1988. Introductory Plant Biology. 4  ed. Wm. C. Brown Publishers, Dubuque.
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97