Page 178 -
P. 178

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       174






                              อยางไรก็ตามการผลิตเมล็ดพันธุแตงโมไรเมล็ดมักประสบกับปญหาหลายอยาง เชน การ

                     รักษาสายพันธุที่เปนเตตราพลอยดซึ่งมักจะไมคงตัว การผลิตเมล็ดพันธุแตละขั้นตอนตองใชแรงคน

                     ในการผสมเกสรระหวางตนดิพลอยดกับเตตราพลอยด จึงทําใหตนทุนการผลิตเมล็ดทริพลอยดสูง
                     นอกจากนั้นยังตองปรับปรุงลักษณะอื่น ๆ เชน รูปทรงของผลที่ไมสม่ําเสมอ แกไขปญหาเรื่องไสใน

                     เปนโพรงและเมล็ดขนาดเล็กที่ไมพัฒนาใหมีนอยลง เนื่องจากถึงแมวาผลแตงโมทริพลอยดจะไมผลิต

                     เมล็ด แตในบางครั้งอาจมีเมล็ดที่ไมพัฒนาเต็มที่เกิดขึ้น ซึ่งมีขนาดเล็กสีขาวคลายเมล็ดแตงกวา และ

                     บางครั้งอาจพบเมล็ดที่ปกติไดเชนกัน


                     16.7 ออโตเตตราพลอยด


                               พืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจหลายชนิดเปนพวกออโตเตตราพลอยด เชน มันฝรั่ง กาแฟ

                     ถั่วลิสง  นอกจากนี้ยังพบในพืชอาหารสัตวหลายชนิด  เชน  อัลฟาฟา  หญาไรย  ในไมดอกไมประดับ
                     และไมผล เชน องุน ลิ้นมังกร และลิลลี่ เปนตน ออโตเตตราพลอยดในธรรมชาติมีกําเนิดมาจากการที่

                     โครโมโซมเพิ่มจํานวนจากสภาพดิพลอยดเปนเตตราพลอยด  สภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม  เชน  เย็น

                     จัด รอนจัด หรือสารเคมีบางชนิดมีผลทําใหโครโมโซมเพิ่มจํานวนขึ้นได


                     16.8 พฤติกรรมของออโตเตตราพลอยดในระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส


                               สิ่งมีชีวิตพวกออโตโพลีพลอยดจะมีโครโมโซม 4 ชุดที่เหมือนกัน (AAAA)  แตละ

                     โครโมโซมประกอบดวยโครโมโซมคูเหมือน 4 แทง ในทางทฤษฎีโครโมโซมคูเหมือนทั้งสี่มีโอกาส

                     ที่จะมาจับคูกันไดเทา ๆ กัน แตในความเปนจริงแลวโครโมโซมคูเหมือนทั้งสี่มักจะมาจับกันแบบสอง
                     ตอสอง ทําใหไดไบวาเลนต 2 คู แตถามีการจับกันของโครโมโซมคูเหมือนทั้งสี่ก็จะไดโครโมโซม

                     แบบควอดริวาเลนต (quadrivalent) หรือเตตราวาเลนต (tetravalent) นอกจากนี้ยังอาจพบการจับคูของ

                     โครโมโซมรูปแบบอื่น ๆ เชน ยูนิวาเลนต ไบวาเลนต และไตรวาเลนตรวมอยูดวย ในระยะไดอะไคเน
                     ซิสโครโมโซมคูเหมือนทั้งสี่ที่มาจับคูกันแบบควอดริวาเลนตจะมีการจัดเรียงตัวในรูปแบบตาง ๆ ถึง

                     11 แบบขึ้นอยูกับลักษณะการจับคู และไคแอสมาที่เกิดขึ้นบนโครโมโซม (รูปที่ 16.2 B) อยางไรก็ตาม

                     การจัดเรียงตัวของควอดริวาเลนตในรูปแบบทั้ง 11 แบบนี้มีโอกาสในการเกิดไมเทากัน เชน มะเขือ

                     เทศ และหญาไรย พบการจัดเรียงตัวของโครโมโซมทั้งสี่เปนรูปวงแหวนมากกวา 50 % และเปนรูป
                     ลูกโซมากกวา 30 %  พืชออโตเตตราพลอยดสวนมากพบการจัดเรียงตัวของควอดริวาเลนตเปน

                     รูปแบบทั้งสองนี้มากที่สุด เซลลที่ประกอบดวยโครโมโซมที่มีการจับคูกันเปนรูปแบบตาง ๆ ในระยะ

                     เมตาเฟส เรียกวา มัลติวาเลนต (multivalent) ในระยะอะนาเฟสถาเซนโตรเมียรทั้งสี่มีการจัดวางตัวไป

                     ทางขั้วทั้งสองของเซลล (coorientation) และมีสายใยสปนเดิลมาจับที่เซนโตรเมียร เมื่อสิ้นสุดการแบง
                     เซลลแบบไมโอซิสเซลลลูกแตละเซลลจะไดรับโครโมโซม 2 แทง แตถามีเซนโตรเมีย 2 ใน 4 อัน
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183