Page 177 -
P. 177

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       173
































                     รูปที่ 16.3  ขั้นตอนการผลิตแตงโมทริพลอยด (2n = 3x = 33) ซึ่งไรเมล็ด


                              1.  คัดเลือกพันธุแตงโมที่เปนดิพลอยด (2n = 2x) นํามาปลูกในเรือนกระจกที่ระยะกลา

                     หยดสารละลายโคลชิซินความเขมขน 0.2-0.4 % ลงบนยอดหรือจุดเจริญของตนกลาวันละ 1 หยด เปน

                     เวลา 4 วันติดตอกัน เพื่อชักนําใหไดตนแตงโมที่เปนเตตราพลอยด (2n = 4x)
                              2.  ผสมพันธุระหวางตนดิพลอยดกับเตตราพลอยด โดยนําละอองเกสรผูจากตนดิพลอยด

                     ผสมกับเกสรตัวเมียของตนเตตราพลอยด ภายหลังการผสมเมล็ดที่ไดจะเปนทริพลอยด (2n = 3x) ใน

                     การผสมพันธุถาหากใชตนเตตราพลอยดเปนพอ และตนดิพลอยดเปนแม จะไดเมล็ดลีบ

                              3.  เมล็ดพันธุแตงโมที่เปนทริพลอยดจะมีเปลือกหุมเมล็ดหนากวาเมล็ดดิพลอยดปกติ ทํา
                     ใหงอกชา และเปอรเซ็นตความงอกคอนขางต่ํา จึงตองแกไขโดยการฝนสวนปลายของเมล็ดเล็กนอย

                     กอนนําไปเพาะในกะบะทราย กลบเมล็ดบาง ๆ ไมใหความชื้นมากเกินไปเพราะจะเนางาย เมื่อเมล็ด

                     เริ่มงอกจึงยายไปปลูกในดินที่บรรจุในถุงกระดาษหรือถุงพลาสติก เมื่อตนกลาแข็งแรงและมีใบจริง 3-
                     4 ใบก็ยายลงดินในแปลงปลูกได

                              4.  ปลูกตนแตงโมทริพลอยดสลับตนหรือแถวคูกับตนแตงโมดิพลอยด ในอัตราสวน 4 : 1

                     ถึง 5 : 1 เพื่อใหละอองเกสรผูจากตนดิพลอยดไปกระตุนใหผลของตนแตงโมทริพลอยดเจริญเติบโต

                     เนื่องจากละอองเกสรผูของตนทริพลอยดเปนหมัน ผลแตงโมที่ไดนี้จึงไมมีเมล็ด
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182