Page 180 -
P. 180

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       176






                               การแสดงออกของยีนในพวกออโตเตตราพลอยดจะผันแปรไปเชนเดียวกับพวกดิพลอยด

                     กลาวคือ ถาเปนยีนขมสมบูรณ (complete dominance) ยีโนไทปที่เปนเฮตเทอไรไซกัส (AAAa, AAaa

                     และ Aaaa) จะแสดงลักษณะเหมือนกับยีโนไทปที่เปนโฮโมไซกัส (AAAA) ถาเปนยีนขมไมสมบูรณ
                     (incomplete dominance) ยีโนไทปที่เปนเฮตเทอโรไซกัส (AAAa, AAaa และ Aaaa) จะแสดงลักษณะ

                     ออกมาอยูระหวางควอดุพเพลกซ (AAAA) และนัลลิเพลกซ (aaaa) เชนในไมดอก Primula sinensis มี

                     ยีน 2 ตัว คือ ยีน G ควบคุมลักษณะยอดเกสรตัวเมียที่มีสีเขียว (green stigma) ซึ่งเปนยีนขมสมบุรณ

                     และยีน D ควบคุมการสรางเม็ดสีมวง (anthocyanin) ซึ่งเปนยีนขมไมสมบูรณ (Dawson, 1962) การ
                     แสดงออกของยีนทั้งสองใน  P.  sinensis  ที่เปนเตตราพลอยดจะแตกตางกันไปขึ้นกับชนิดของยีน

                     (ตารางที่ 16.4)


                     ตารางที่ 16.4  การแสดงออกของยีนขมสมบูรณและไมสมบูรณใน Primula sinensis ที่เปนเตตรา

                                    พลอยด


                                    ยีนขมสมบูรณ                              ยีนขมไมสมบูรณ

                     ยีโนไทป               พีโนไทป               ยีโนไทป              พีโนไทป

                     GGGG                                          DDDD                สีเขม

                     GGGg                                          DDDd
                     GGgg            ยอดเกสรตัวเมียสีเขียว         DDdd                สีปานกลาง

                     Gggg                                          Dddd

                     gggg            ยอดเกสรตัวเมียสีแดง           dddd                สีขาว


                               การแยกตัวของยีนออกจากกันในการแบงเซลลแบบไมโอซิส  เพื่อสรางเซลลสืบพันธุนั้น

                     ขึ้นอยูกับตําแหนงของยีนวาอยูใกลหรือไกลจากเซนโตรเมียร  ถายีนอยูใกลกับเซนโตรเมียร  การ

                     แยกตัวของยีนจะเปนไปตามการแยกตัวของโครโมโซมทั้งสี่  (chromosome segregation)  ซึ่งเกิดขึ้น
                     อยางสุม  ถายีนอยูหางไกลจากเซนโตรเมียรจนกระทั่งมีการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครมาติดกันขึ้น  การ

                     แยกตัวออกจากกันของยีนจะขึ้นอยูกับการแยกตัวของโครมาติด  (chromatied segregation)  ไมใช

                     โครโมโซม
                                ก.  การแยกตัวแบบโครโมโซม ในการแยกตัวแบบนี้โครมาติดทั้งสองของแตละ

                     โครโมโซมตางก็แยกตัวไปยังเซลลสืบพันธุทั้งสอง โดยไมมีไคแอสมาเกิดขึ้นระหวางโครมาติดทั้ง

                     สอง จึงทําใหดูคลายกับวาโครมาติดทั้งสองของแตละโครโมโซมมีพฤติกรรมเหมือนเปนโครโมโซม
                     แทงเดียว เชน เตตราพลอยดที่มียีโนไทปเปนดุพเพลกซสําหรับยีน A (AAaa) จะใหเซลลสืบพันธุที่มี

                     อัตราสวนของยีโนไทป (gametic ratio) ดังนี้ 1 AA : 4 Aa : 1 aa
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185