Page 174 -
P. 174

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       170






                     16.5 ออโตทริพลอยด



                               ตนพืชที่เปนออโตทริพลอยดอาจมีกําเนิดมาจาก 1) การผสมขามระหวางตนพืชเตตรา
                     พลอยดกับดิพลอยด หรือ 2) การผสมระหวางไขที่ไมมีการลดจํานวนโครโมโซม (n = 2x) กับละออง

                     เกสรปกติ (n = x) หรือ 3) การผสมระหวางไขที่ปกติ (n = x) กับสเปรม (n = x) 2 ตัว ที่เรียกวา ได

                     สเปรมี (dispermy)  สิ่งมีชีวิตที่เปนออโตทริพลอยดแตละโครโมโซมประกอบดวยโครโมโซมคู

                     เหมือน 3 แทง ดังนั้นในระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิสโครโมโซมคูเหมือนทั้งสามควรจะมา
                     จับคูกันเปนไตรวาเลนต แตโดยทั่วไปแลวโครโมโซมคูเหมือนทั้งสามจะไมมาเขาคูแนบชิดกันตอลด

                     ความยาวสายโครโมโซมเหมือนกับการจับคูแบบไซมาติด แพริ่ง (somatic pairing)  ในเซลลตอม

                     น้ําลายแมลงหวี่ ถาโครโมโซมคูเหมือน 2 สายมาจับคูกันก็จะไดไบวาเลนต สวนอีกสายหนึ่งไมมีคูจับ
                     ก็จะเปนยูนิวาเลนต (รูปที่ 16.1 A) ถามีการจับคูกันระหวางโครโมโซมคูเหมือนทั้งสามก็จะไดไตรวา

                     เลนต (รูปที่ 16.1 B และ C) ซึ่งจะมีพฤติกรรมเหมือนพวกไพรมารี ไตรโซมิค (primary trisomic) และ

                     ถามีไคแอสมาเกิดขึ้นบนไตรวาเลนตในระยะดิพโพลทีนหรือไดอะไคเนซิส  โครโมโซมจะมีการ
                     จัดเรียงตัวเปนรูปแบบตาง ๆ (orientation) ได 4 แบบ (configulation) ขึ้นอยูกับจํานวนและตําแหนง

                     ของไคแอสมาที่เกิดขึ้น (รูปที่ 16.2 A)


                               การแยกตัวออกจากกันของไตรวาเลนตในระยะอะนาเฟส I ของการแบงเซลลแบบไมโอ

                     ซิส มักจะไมแนนอน เซลลลูกที่ไดอาจไดรับโครโมโซมหนึ่งหรือสองแทงจากแตละไตรวาเลต ดังนั้น

                     เซลลลูกทั้งสองจึงมักมีจํานวนโครโมโซม 1 ชุด (x) บวกกับโครโมโซมบางแทง ทําใหเซลลสืบพันธุ
                     ของพวกทริพลอยดมีจํานวนโครโมโซมที่ไมสมดุล จึงมักจะตาย โดยเฉพาะอยางยิ่งถาเซลลสืบพันธุ

                     นั้นเปนละอองเกสร ถึงแมวาจะไมตาย แตก็แขงขันสูกับละอองเกสรปกติ (n = x) ในการเขาไปผสม

                     กับไขไมได  ถาไมตายและสามารถผสมพันธุได ลูกที่ไดสวนใหญจะเปนพวกอะนูพลอยด เชน ในขาว

                     พวกดิพลอยดเซลลสืบพันธุปกติมีโครโมโซม 12 แทง แตพวกทริพลอยดจะสรางเซลลสืบพันธุที่มี
                     จํานวนโครโมโซม 12 แทง แลวเพิ่มขึ้นไปเรื่อย ๆ จนถึง 24 แทง เซลลสืบพันธุแบบนี้เมื่อผสมกับ

                     เซลลสืบพันธุปกติ ลูกที่ไดจะมีจํานวนโครโมโซมตั้งแต 24,  25.............. 35, 36 แทง ตามลําดับ
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179