Page 73 -
P. 73

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                               รายงานฉบับสมบูรณ์  กันยายน
                                     โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                                ๒๕๕๗
                       ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                           การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อสัตว์ป่าและถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่า โดยเฉพาะชนิดพันธุ์
               ต้องการความหนาวเย็นในการด ารงชีวิตและสืบต่อพันธุ์ ยกตัวอย่างเช่น ในบริเวณดอยสุเทพ-ปุย กระรอกบินแก้มขาว

               และตุ่น เนื่องจากเป็นสัตว์ป่าที่ต้องการอุณหภูมิหนาวเย็นในการดูแลลูกน้อย ไก่ฟ้าหลังขาว นกขมิ้นแดง

               นกนิลตวาใหญ่ นกกางเขนน้ าหลังเทา นกกางเขนน้ าหัวขาว เป็นต้น อุณหภูมิที่สูงขึ้นอาจมีผลต่อการฟักไข่ของนก

               (ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2556)

                           การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อปริมาณน้ าท่า (น้ าในล าห้วยล าธาร) ระยะเวลาการไหล

               น้ าท่วมฉับพลัน และภัยแล้ง ซึ่งปัจจัยส าคัญที่มีผลต่อปริมาณน้ าท่า คือ ปริมาณน้ าฝนและการคายระเหยของน้ า

               ปริมาณน้ าท่าที่ลดลงในฤดูแล้ง และมีปริมาณมากเกินไปในฤดูฝน ตลอดจนสภาพน้ าที่ขุ่นจากดินที่ถูกกัดเซาะลงมา

               ส่งผลต่อภาวะความมั่นคงด้านน้ าของประชาชนท้องถิ่นทั้งเพื่อการอุปโภคบริโภคและเพื่อการเกษตร


                           ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีต่อการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา

               พบว่า สภาพภูมิอากาศเป็นทรัพยากรส าคัญในการท่องเที่ยวบริเวณภูเขา เป็นจุดดึงดูดให้มาเยือน ใช้เป็นตัวก าหนด

               ความเหมาะสมของแหล่งในการประกอบกิจกรรมท่องเที่ยว การท่องเที่ยวขึ้นกับฤดูกาล ทั้งเรื่องช่วงเวลา

               และคุณภาพของสภาพภูมิอากาศ  การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท าให้เกิดอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น ภัยธรรมชาติที่
               รุนแรงและมีความถี่สูงขึ้น ส่งผลให้แรงดึงดูดใจในการมาเยือนแหล่งท่องเที่ยวบนเขาน้อยลง และมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมใน

               การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยธรรมชาติ นอกจากนั้น สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปโดยอิทธิพลของ

               การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลต่อการท่องเที่ยวที่ความรุนแรงต่างๆกัน เช่น น้ าใช้จ ากัดขึ้น การสูญเสียความ

               หลากหลายทางชีวภาพ ความงดงามทางภูมิทัศน์ลดลง ผลผลิตทางเกษตรลดลง การเพิ่มของภาวะอันตรายทาง

               ธรรมชาติ การกัดเซาะชายฝั่ง ความเสียหายของสิ่งอ านวยความสะดวก และการแพร่กระจายเชื้อโรคต่างๆ
               การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจส่งผลถึงการเติบโตทางเศรษฐกิจ มีผลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว ซึ่งส่งผล

               ต่อเนื่องไปยังเศรษฐกิจสังคมของท้องถิ่นเมื่อรายได้จากการท่องเที่ยวลดลง


                           ดังนั้น ผลสืบเนื่องของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลต่อระบบนิเวศของแหล่งธรรมชาติภูเขา

               ย่อมมีต่อชีวิตความเป็นอยู่ ทั้งภาคเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประชาชนท้องถิ่น ส่งผลต่อการท่องเที่ยว

               การเกษตร และการตั้งถิ่นฐานทั้งในบริเวณภูเขาและในพื้นที่ตอนล่าง อย่างไรก็ดี กิจกรรมการตั้งรับปรับตัวต่อ

               ผลกระทบที่อาจส่งผลต่อระบบนิเวศภูเขาและการด ารงชีวิตของประชาชนท้องถิ่น พบว่ายังมีอยู่จ ากัด แนวทางหรือ

               วิธีการที่เหมาะสม คือ การให้ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร เพื่อสร้างความตระหนักแก่ประชาชนท้องถิ่น และด าเนิน

               กระบวนการปรึกษาหารือกับชุมชนท้องถิ่น เพื่อก าหนดภาพจ าลองของการพัฒนาชุมชนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ทั้ง
               ที่มีผลกระทบและไม่มีผลกระทบเกิดขึ้น ในพื้นที่ที่ด าเนินการมาแล้ว เช่น เกาะเต่า จังหวัดชุมพร และเกาะกลาง

               จังหวัดกระบี่ พบว่า แนวทางการปรับตัวที่เป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด คือ ทิศทางการพัฒนาสีเขียว ทั้งเพื่อลด





                                                            3-10
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78