Page 138 -
P. 138

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                            รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                  โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                             ๒๕๕๗
                    ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา



               6.5  ปัจจัยชี้วัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา

                     ปัจจัยชี้วัดที่น ามาใช้ในการก าหนดเกณฑ์การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา

               สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ด้าน คือ องค์ประกอบของระบบนิเวศ / สิ่งแวดล้อม ด้านองค์ประกอบ
               ภูมิสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรม ด้านผลผลิตจากการบริการสิ่งแวดล้อมของแหล่งภูเขา และด้านการ

               บริหารจัดการ รวม 32 ปัจจัย ซึ่งรายละเอียดพร้อมเหตุผลแสดงในตารางที่ 6-2 และ 6-3 ทั้งนี้ ในแต่ละแหล่ง

               ธรรมชาติประเภทภูเขาแต่ละแห่ง อาจก าหนดตัวชี้วัดที่แตกต่างกันไป ไม่จ าเป็นต้องมีการประเมินครบทุกปัจจัย
               ชี้วัดที่เสนอมานี้ ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะทางธรรมชาติและลักษณะการใช้ประโยชน์ของแหล่ง


                       ส่วนเกณฑ์การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมนั้น ได้ก าหนดไว้เป็น 3 ระดับดังกล่าวข้างต้นแล้ว คือ

               (1) ระดับการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับดี คือ ไม่มีผลกระทบหรือผลกระทบน้อย (2) ระดับการรักษา
               คุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับปานกลาง กล่าวคือ มีระดับผลกระทบปานกลาง และ (3) ระดับการรักษา

               คุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับต่ า คือ มีผลกระทบโดยรวมสูงหรือรุนแรง ซึ่งหมายถึงมีผลกระทบเกินค่าเกณฑ์ที่
               ได้ก าหนดไว้ ซึ่งการตรวจวัดและติดตามผลกระทบด้านต่างๆ เป็นประจ า จะท าให้มีข้อมูลทราบถึงสถานภาพของ
               แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาว่ามีคุณภาพของสิ่งแวดล้อมและองค์ประกอบต่างๆ เป็นอย่างไร มีปัญหาหรือ

               ผลกระทบมากน้อยเพียงใด ในด้านใด และสามารถติดตามสาเหตุของผลกระทบเพื่อน ามาพิจารณาหาทางแก้ไข
               ได้ทันเวลา



               6.6  ขั้นตอนการประเมินเกณฑ์การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา


                     โดยทั่วไปแล้วการประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา จะด าเนินการ
               ไปพร้อมกับการเก็บข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา โดยมีรายละเอียดดังนี้


                                 1)  เก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับแหล่งธรรมชาติ ดังนี้

                                       ชื่อแหล่ง ที่ตั้งตามเขตการปกครองท้องถิ่น

                                       ที่ตั้งพิกัด UTM ส ารวจโดยเครื่องมือ GPS
                                       ลักษณะการประโยชน์แหล่งภูเขา

                                       ประเภทของการใช้ที่ดิน
                                       การเข้าถึง โดยการส ารวจประเภทและระยะทางของเส้นทางที่เข้าสู่แหล่งโดยให้

                                         เริ่มต้นจากตัวอ าเภอเมืองของจังหวัดที่แหล่งนั้นตั้งอยู่
                                       หน่วยงานรับผิดชอบ

                                       ชุมชน ผู้ประกอบการ และหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสีย
                                       แหล่งธรรมชาติประเภทอื่นๆในพื้นที่ภูเขา ได้แก่ น้ าตก  ถ้ า ธรณีสัณฐาน
                                         ภูมิลักษณวรรณา ล าน้ า ทะเลสาบ/หนอง/บึงตามธรรมชาติ อ่างเก็บน้ า







                                                         6-6
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143