Page 281 -
P. 281

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      3-13





                                ประเด็นที่สี่  ไดแกการประชาสัมพันธกิจการปาไม  คุณคาและความสําคัญของปาไมใหแก
                  ประชาชนไดเขาใจ  รวมทั้งการสงเสริมเผยแพร  ดวยวิธีการหนึ่งวิธีการใดก็ได  ไมวาจะเปนการออกรายการ
                  วิทยุ โทรทัศน ติดโปสเตอร  ฝกอบรม  และสอดแทรกในบทเรียน แมวาจะไดตื่นตัวในปจจุบันแลวก็ตาม

                  แตดูเหมือนวางานประเภทนี้เพิ่งเริมตนเทานั้น  นโยบายปาไมแหงชาติ  พ.ศ.  2528  ตองการเนนใหเห็นวา
                  การใหทั้งความรูทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษานั้น      คาดวาจะชวยใหปองกันปาที่มีอยูใหมีตลอดไป
                  ใหมีการฟนฟูและพัฒนาปาไม การปลูกปาเพิ่มขึ้นเหลานี้ เปนตน
                                ประเด็นสุดทาย  เปนประเด็นทางดานอื่น  ซึ่งอาจกลาวไดวาเปนประเด็นที่เกี่ยวกับปจจัย
                  ภายนอกกิจการปาไม  แตกิจการเหลานี้มีอิทธิพลทางตรงและทางออมตอการปาไม  เชน  กิจการการเพิ่ม

                  ผลิตผลทางการเกษตร ถาไดผลแลวราษฎรคงไมบุกรุกแผวถางปา การวางผังเมืองก็เชนกันถาดีแลวคงไมเกิด
                  ปญหาจนทําใหคนตองบุกรุกปาเพิ่มขึ้น เหลานี้เปนตน”


                  3.2 ที่มาแหงอํานาจในการอนุรักษพื้นที่ปาไม

                         การอนุรักษพื้นที่ปาไมไดอาศัยอํานาจตามกฎหมายที่เริ่มประกาศใชมาตั้งแต พ.ศ. 2417 ในชวงสมัยกรุง
                  รัตนโกสินทรมาจนถึง พ.ศ. 2475 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาสูระบอบ

                  ประชาธิปไตย โดยมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด   และมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ จึงไดมี
                  มติคณะรัฐมนตรี  ควบคูไปกับการตรากฎหมาย  ที่เกี่ยวของกับการอนุรักษพื้นที่ปาไมจนถึงปจจุบัน  การทบทวน
                  ที่มาของอํานาจในการอนุรักษพื้นที่ปาไมจึงไดกําหนดเปน 2 เรื่อง คือ (1) กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษพื้นที่ปาไม
                  และ (2) มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการอนุรักษพื้นที่ปาไมที่สําคัญ ดังนี้

                         3.2.1 กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษพื้นที่ปาไม
                                การตรากฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษพื้นที่ปาไม  ไดเริ่มมาตั้งแต  พ.ศ.  2417  โดยมี
                  ประกาศพระบรมราชโองการวาดวยภาษีไมขอนสักและไมกระยาเลย จ.ศ. 1236 ในชวงตนกรุงรัตนโกสินทร
                  การตรากฎหมายสวนใหญนั้นเกี่ยวของกับไมสัก ตอมา พ.ศ. 2456 ไดมีประกาศใชพระราชบัญญัติรักษาปา

                  ซึ่งมีการแกไขเพิ่มเติมใน  พ.ศ.  2479  หลังจากนั้นไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติคุมครองและสงวนปา
                  พ.ศ. 2481 และประกาศใชพระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 ซึ่งเปนการยกเลิก พระราชบัญญัติรักษาปา
                  พ.ศ. 2456 และ ฉบับที่ (2) พ.ศ. 2497 พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 ไดมีการแกไขเพิ่มเติมอีก 4 ครั้ง
                  คือ ฉบับที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2491 ฉบับที่ 3 เมื่อ พ.ศ. 2494 และฉบับที่ 4 เมื่อ พ.ศ. 2503 ฉบับที่ 5 เมื่อ พ.ศ.

                  2518  กฎหมายที่มีบทบัญญัติที่เปนการอนุรักษพื้นที่ปาไมอยางเขมงวด  2  ฉบับ  ไดประกาศในเวลาตอมา
                  คือ  (1)  พระราชบัญญัติคุมครองและสงวนพันธุสัตวปา  พ.ศ.  2503  ซึ่งถูกยกเลิกเมื่อมีการประกาศ
                  พระราชบัญญัติคุมครองและสงวนพันธุสัตวปา พ.ศ. 2535 และ (2) พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ.
                  2504 ในพ.ศ. 2507 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติปาสงวนปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 โดยยกเลิก

                  พระราชบัญญัติคุมครองและสงวนปา  พ.ศ.  2481  ฉบับที่  2  พ.ศ.  2496  และฉบับที่  3  พ.ศ.  2497
                  พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 ไดมีการแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) เมื่อ พ.ศ. 2528 ลําดับเวลา
                  ของกฎหมายที่เกี่ยวของกับการอนุรักษพื้นที่ปาไมมีรายละเอียดในตารางที่ 3-7
   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286