Page 276 -
P. 276

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       3-8






                         3.1.2 นโยบายปาไมแหงชาติ

                         การกําหนดสัดสวนพื้นที่ปาไมรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 3 ธันวาคม

                  2528  นั้น  ไดกําหนดใหมีการจําแนกออกเปน  2  สวน  คือ  ปาเพื่อการอนุรักษรอยละ  15  และปาเพื่อ
                  เศรษฐกิจรอยละ  25  การกําหนดดังกลาวนี้มีหลักเกณฑทั้งการใชที่ดิน  การจัดการปาไมรวมทั้งการจัดการ
                  ลุมน้ํา การทบทวนในหัวขอนี้จะมี 3 เรื่อง คือ (1) หลักเกณฑในการจัดทํานโยบายปาไมแหงชาติในสวนที่
                  เกี่ยวกับเปาหมายการกําหนดขนาดพื้นที่ปาไม  (2)  นโยบายปาไมแหงชาติ  และ(3)  ความเปนไปไดของ
                  นโยบายปาไมแหงชาติ พ.ศ. 2528 โดยมีรายละเอียดดังนี้


                         (1) หลักเกณฑในการจัดทํานโยบายปาไมแหงชาติในสวนที่เกี่ยวกับเปาหมายการกําหนดขนาด
                  พื้นที่ปาไม
                                เพื่อใหการกําหนดขนาดพื้นที่ปาเปนไปอยางถูกตอง วิธีการดําเนินการจําเปนตองกําหนด

                  พื้นที่ปาเปน 2 ประเภท คือ
                                        (1.1) ปาปองกันหรือปาอนุรักษ ไดแก ปาตนน้ําลําธาร อุทยานแหงชาติ วน
                  อุทยาน เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลาสัตวปาและเขตอนุรักษอื่นๆ ทางดานปกปองสิ่งแวดลอม

                                        (1.2) ปาผลิตผลหรือปาเพื่อการคา ไดแก ปาที่ใชเพื่อการผลิตไมและของปาเพื่อ
                  ใชสอยและการคา
                                ปาทั้ง 2 ประเภท นี้มีวิธีการกําหนดขนาดพื้นที่โดยใชหลักการ ดังนี้
                                        1) หลักการใชที่ดิน
                                               ในการจําแนกสมรรถนะที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน  ไดจําแนกพื้นที่ตาม

                  สมรรถนะและความเหมาะสมเพื่อกิจการตางๆ คือ เพื่อการเกษตร ที่อยูอาศัย แหลงน้ํา และปาไม สําหรับ
                  พื้นที่ทั้งประเทศนั้น  กรมพัฒนาที่ดินไดจําแนกพื้นที่ที่มีความลาดชันเกิน  35  เปอรเซ็นต  ไวประมาณ  100
                  ลานไร หรือประมาณรอยละ 31 ของพื้นที่ประเทศ


                                        2) หลักการจัดการปาไม
                                               2.1) ในการรวบรวมขอมูลของกรมปาไม และถานําขอมูลประยุกตแลว
                  พบวาคนไทยคนหนึ่งใชไมแปรรูปประมาณ 0.064 ลบ.ม/คน/ป ไมจํานวนนี้เปนไมแปรรูปที่ตองตามกฎหมาย
                                               2.2) การประมาณการสูญเสียการนําไมใชประโยชน พบวาการนําตนไม

                  จากปาตนหนึ่งมาทําไมแปรรูป จะสามารถนํามาใชประโยชนจริงๆ ประมาณรอยละ 25 (บางทานพบรอยละ
                  30) ของไมทั้งตนในปา
                                               2.3) เพราะฉะนั้นคนไทยหนึ่งคนจะใชไมปหนึ่งที่คิดเปนไม (ตน) ในปา
                  ประมาณ 0.0246 ลูกบาศกเมตร และถาใหคนไทยมีเพียง 52 ลานคนแลว จะตองใชไมปหนึ่งประมาณ 13.31 ลาน

                  ลูกบาศกเมตร โดยผลิตจากพื้นที่ปาผลิตผลประมาณรอยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ  ดังรายละเอียดในตารางที่ 3-5

                                        3) หลักการจัดการลุมน้ํา
                                               การวิเคราะหหาปริมาณพื้นที่ปาตนน้ําลําธาร   ซึ่งรวมไปถึงปาอนุรักษ

                  ตางๆ เชน อุทยานแหงชาติ วนอุทยาน เขตรักษาพันธุสัตวปา และเขตหามลาสัตวปา มีหลักการที่อยูในขอ
                  สมมุติฐานที่วา  ปริมาณน้ําที่มีไหลอยูตามลําหวยลําธารทุกๆ  แหงนั้นจะตองเปนน้ําที่เกิดเฉพาะพื้นที่ลําธาร
                  ของแตละทองที่เทานั้น
   271   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281