Page 280 -
P. 280

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      3-12





                                18)  กําหนดแนวปฏิบัติงานที่แนนอนชัดเจนเกี่ยวกับการแกไขปญหาการทําลายปาไมใน
                  รูปแบบตางๆ เชน การทําไรเลื่อนลอย ภัยจากไฟปา การทําลายปาจากชนกลุมนอย การรุกล้ําพื้นที่ปาจาก
                  เชิงเขา  โดยใหมีการกําหนดมาตรการและขั้นตอนที่แนนอนชัดเจน  เกี่ยวกับการปราบปรามและการลงโทษ

                  ผูกระทําผิด  รวมทั้งการจัดตั้งศูนยรวมการปราบปรามในแตละภาค  และใหมีมาตรการการลงโทษเจาหนาที่
                  ของรัฐ ผูมีอิทธิพลและผูกระทําผิดไวเปนหลักในการปฏิบัติงานของหนวยราชการและภาคเอกชน
                                19) กําหนดใหมีสิ่งจูงใจในการสงเสริมการปลูกปาภาคเอกชน
                                20)  กําหนดใหมีการวางแผนทรัพยากรมนุษยและการตั้งถิ่นฐานในทองถิ่น  ใหสอดคลอง
                  กับการใชทรัพยากรและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ”


                         (3) ความเปนไปไดของนโยบายปาไมแหงชาติ พ.ศ. 2528
                                หลังจากมีนโยบายปาไมแหงชาติแลว  เกษม  จันทรแกว  (2529:  56-58)  ไดวิเคราะหความ
                  เปนไปไดของนโยบายปาไมแหงชาติไวดังนี้

                                “นโยบายปาไมทั้ง 20 ขอนั้น มีประเด็นสําคัญที่พอสรุปได 5 ประเด็น คือ
                                ประเด็นแรก  การแบงพื้นที่ที่เปนปาไมและพื้นที่ที่ไมใชปาไม  โดยจะตองดําเนินการอยาง
                  รวดเร็ว  ซึ่งในการแบงพื้นที่ทั้งสองประเภทนี้จะตองใชหลักเกณฑและวิธีการที่เหมาะสม  โดยเฉพาะการ

                  กําหนดพื้นที่ปานั้นตองเปนบริเวณที่มีความลาดชันเกินรอยละ  35    (โดยทําการวัดในพื้นที่ที่มีความลาดชัน
                  ไมนอยกวาหนึ่งกิโลเมตรในแผนที่) อีกทั้งอาจจะใชชนิดปา สภาพความอุดมสมบูรณของปา การกําหนดชั้น
                  คุณภาพลุมน้ําอยางใดอยางหนึ่งหรือทุกกรณีเขาชวยในการดําเนินงานการกําหนดพื้นที่ดังกลาวนี้  จะไดพื้นที่ปา
                  อนุรักษและปาเพื่อผลิตไมควบคูกันไปในอัตรารอยละ 15 และ 25 ของพื้นที่ประเทศ (320.7 ลานไร) ตามลําดับ
                  รวมเปนพื้นที่ปาไมรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ ในการกําหนดตัวเลขพื้นที่ปาไมรอยละ 40 นี้มิไดหมายความวา

                  รัฐบาลจะตองเปนเจาของปาเองรอยละ 40 ทั้งหมด ตามขอเท็จจริงของคณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ พ.ศ.
                  2528 นั้น ตองการใหเปนเอกชน บริษัท หางรานและรัฐวิสาหกิจดวย ดังนั้น รัฐบาลจึงอาจครอบครองปาไมไมถึง
                  รอยละ 40 อนึ่ง จากการศึกษาของกรมพัฒนาที่ดินในการจําแนกสมรรถนะที่ดินพบวา พื้นที่ที่มีความลาดชันเกิน

                  รอยละ 35 จึงมีปริมาณประมาณ 100 ลานไร หรือประมาณรอยละ 31 ของพื้นที่ประเทศ ในกรณีเชนนี้พอจะเห็น
                  วา  พื้นที่ปาไมที่ตองการรอยละ  40  ของพื้นที่ประเทศนั้น  คงตองครอบคลุมพื้นที่ที่มีความลาดชันต่ํากวารอยละ
                  35 ซึ่งนาจะเปนพื้นที่ของปาเอกชนอยางยิ่ง
                                ประเด็นที่สอง  เมื่อพื้นที่ประเทศไดแบงปาไมออกจากพื้นที่ที่มีการใชประโยชนอื่นๆ  แลว

                  นั้น ก็จะไดขนาดและสถานที่ปาไมเปนปาอนุรักษและปาเพื่อผลิตไม งานในประเด็นนี้ก็มีทั้งงานปองกันและ
                  ปลูกปาเพิ่มเติม เพื่อใหไดพื้นที่ปาไมตามที่กําหนดคือรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ ซึ่งการดําเนินงานนี้ ใน
                  นโยบายปาไมแหงชาติ พ.ศ. 2528 มิไดระบุใหแนชัดวาจะใชเวลากี่ป แตควรจะไมนานเกินไปนัก อยางไรก็ดี
                  การปองกันและการปลูกปาในพื้นที่เสื่อมโทรมนี้ จะมีสวนตอการใหผลผลิต ใหไมใชสอย ใหของปา และให

                  การคุมครองทางสิ่งแวดลอมดวย
                                ประเด็นที่สาม  เปนประเด็นเกี่ยวกับการสงเสริมใหเอกชนมีบทบาทในกิจการปาไมทั้งการ
                  ทําไม ปลูกปา และปองกันรักษาปา โดยเอกชนไดรับประโยชน และรัฐบาลไดพื้นที่ปา ดังไดกลาวไวแตตน
                  แลววา  ลําพังรัฐบาลแตผูเดียวนั้น  ไมสามารถรักษาและฟนฟูปาได  เอกชนจึงนาจะมีบทบาทใหเกิดผลดีตอ

                  กิจการปาไมได  ในการสงเสริมใหเอกชนมีบทบาทนี้รัฐคงจะตองเตรียมการหลายๆ  ประเด็น  เชน  การ
                  ปรับปรุงแกไขกฎหมาย จัดหาพื้นที่ ใหสิ่งชดเชยโดยไมตองเสียดอกเบี้ยในการกูเงิน หรือวิธีอื่นๆ  ที่มีสวน
                  ชักจูงใหเอกชนเขามามีสวนในการพัฒนาพื้นที่ปาไมทั้งสิ้น
   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285