Page 278 -
P. 278

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      3-10





                  ตารางที่ 3-6 การประเมินพื้นที่ปาตนน้ําลําธารของภาคตางๆ

                                               ประมาณ     คาประเมิน   ปริมาณ    คาประเมิน
                                      พื้นที่   น้ําทา (จริง)  ปริมาณน้ํา   น้ําทา   พื้นที่ปาตน  พื้นที่ปา  (%)
                         ภาค
                                      ตร.กม      เฉลี่ย               (การวิจัย)   น้ําลําธาร   ภาค   ประเทศ
                                                3
                                                    2
                                                                       3
                                                              6 3
                                                                                      2
                                                                           2
                                              ม. /กม. /ป   กม ม.    ม. /กม. /ป   กม.
                         เหนือ       171,775   344,000     59,100     1,200,000   49,250     28.7     9.5
                   ตะวันออกเฉียงเหนือ  174,407   169,000   29,500     500,000     59,000     33.8     11.3
                     กลาง-ตะวันตก    67,189    229,000     15,400     800,000     19,200     28.7     3.7
                       ตะวันออก      36,394    449,000     16,300     1,100,000   16,300     44.8     3.1
                          ใต        70,188    1,409,000   98,900     1,800,000   54,940     78.3     10.6
                         รวม         519,953      -        219,200       -        198,740      -      38.2

                  ที่มา: คณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ (2533: 70)

                  หมายเหตุ
                         (1) ปริมาณน้ําทา (จริง) เฉลี่ยคํานวณจากขอมูลน้ําทาของลําน้ําสําคัญ โดยกรมชลประทาน
                         (2) ปริมาณน้ําทา (งานวิจัย) ของปาตนน้ําลําธาร โดยกรมชลประทาน
                         (3) พื้นที่ปาตนน้ําลําธารในที่นี้รวมไปถึงพื้นที่อนุรักษอื่นๆ เชน อุทยานแหงชาติ วนอุทยาน เขตรักษาพันธุสัตวปา
                  และเขตหามลาสัตวปา


                         (2) นโยบายปาไมแหงชาติ

                                เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2528 คณะรัฐมนตรีไดมีมติเรื่อง นโยบายปาไมแหงชาติ ซึ่งมี 20 ขอ
                  ดังนี้

                                “1) ใหมีการกําหนดแนวทางการจัดการและการพัฒนาทรัพยากรปาไมในระยะยาว อันจะ
                  ทําใหประเทศไดรับประโยชนอยางคุมคาทางสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงและสิ่งแวดลอมมากที่สุด โดยเนน
                  ใหมีการประสานกันระหวางทรัพยากรปาไม และทรัพยากรธรรมชาติอื่น
                                2) สงเสริมบทบาทและหนาที่ของสวนราชการตางๆ และภาคเอกชนใหมีสวนรับผิดชอบใน
                  การจัดการ และพัฒนาทรัพยากรปาไมรวมกัน

                                3) ปรับปรุงระบบการบริหารงานปาไมของชาติใหสอดคลองกับปริมาณ คุณภาพและ
                  สภาพทรัพยากรปาไมและสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนไป
                                4) กําหนดใหมีพื้นที่ปาไมทั่วประเทศอยางนอยในอัตรารอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศเพื่อ

                  ประโยชน 2 ประการ ดังนี้
                                        ก. ปาเพื่อการอนุรักษ กําหนดไวเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม ดิน น้ํา พันธุพืช พันธุ
                  สัตวที่หายาก และปองกันภัยธรรมชาติอันเกิดจากน้ําทวมและการพังทลายของดินตลอดทั้งเพื่อประโยชนใน
                  การศึกษา การวิจัย และนันทนาการของประชาชนในอัตรารอยละ 15 ของพื้นที่ประเทศ

                                        ข. ปาเพื่อเศรษฐกิจ กําหนดไวเพื่อการผลิตไมและของปา เพื่อประโยชนในทาง
                  เศรษฐกิจ ในอัตรารอยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ
                                5) รัฐและภาคเอกชนจะพัฒนาพื้นที่ปาไมไปสูเปาหมายที่กําหนดไว และจะจัดการพัฒนา
                  ใหอํานวยประโยชนทั้งในทางตรงและทางออมโดยสม่ําเสมอตลอดไป
   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282   283