Page 279 -
P. 279

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      3-11





                                6) ใหเพิ่มการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตทาง
                  การเกษตรเพื่อลดการทําลายพื้นที่ปาไม
                                7)  เพื่อกอใหเกิดการประสานการใชประโยชนรวมกันระหวางปาไมและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ

                  เชน  ที่ดิน  แหลงน้ํา  และทรัพยากรธรณี  รวมทั้งเพื่อกอใหเกิดการประสานความรวมมือระหวางหนวยงานของรัฐ
                  และระหวางหนวยงานของรัฐกับภาคเอกชนและประชาชนในทองถิ่น  รัฐจะจัดใหมีแผนพัฒนาปาไมไวเปนสวนหนึ่ง
                  ของแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ โดยจะบรรจุไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                                8)  เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไมดวยการจัดการปาไม  ทั้งในระบบวนวัฒนแบบเลือกตัด
                  และระบบวนวัฒนแบบตัดหมดตามหลักวิชาการ  โดยเฉพาะในระบบตัดหมดนี้  เมื่อตัดแลวใหปลูกทดแทน

                  ในพื้นที่ที่ถูกตัดทันที
                                9) เพื่อประโยชนในการอนุรักษและการปองกันภัยอันเกิดจากสิ่งแวดลอม รัฐจะตองเรงรัด
                  ปรับปรุงการวางผังเมือง  และกําหนดพื้นที่ปาไมใหแนนอนเพื่อกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดิน  สําหรับ

                  พื้นที่ที่อยูอาศัย พื้นที่ประเภทชนบท และพื้นที่เกษตรกรรม ในแตละจังหวัดที่แนนอนเพื่อปองกันการบุกรุก
                  พื้นที่ปาไม
                                10)  ใหมีคณะกรรมการนโยบายปาไมระดับชาติ  โดยมีกฎหมายจัดตั้งคณะกรรมการ
                  ดังกลาวเปนการถาวร ใหมีหนาที่วางนโยบาย กํากับ ดูแล การบริหารทรัพยากรปาไมของชาติตามที่กําหนด
                  ไวในกฎหมายหนึ่งหนึ่งกฎหมายใดโดยเฉพาะ

                                11)  เพื่อเปนการปลูกฝงใหประชาชนมีความรูสึกรักและหวงแหนรูจักใชทรัพยากรปาไม
                  อยางประหยัด  รัฐจะตองใหความรู  ทัศนคติ  ความสํานึก  ความรูสึกและทักษะแกประชาชนเกี่ยวกับ
                  ผลประโยชนที่จะไดรับจากทรัพยากรปาไมและผลเสียจากการตัดไมทําลายปา  การใชสอยไมอยางฟุมเฟอย

                  จัดใหมีการเผยแพรความรูและความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับความสําคัญของทรัพยากรปาไมที่มีตอ
                  สวนรวม
                                12)  ใหมีการพัฒนาดานปาไม  โดยสงเสริมการปลูกปาภาคเอกชนและภาครัฐบาลเพื่อใช
                  ภายในประเทศ  เพื่อประโยชนในการอุตสาหกรรม  และสนับสนุนใหมีการสงออกไปจําหนายตางประเทศ

                  สงเสริมการปลูกปาชุมชน  สงเสริมการปลูกปาในที่ดินของรัฐ  และการปลูกปาตามหัวไรปลายนา  หรือปลูก
                  ปารายยอยเพื่อประโยชนใชสอยในครัวเรือน
                                13)  สนับสนุนใหมีโรงงานอุตสาหกรรมแบบตอเนื่อง  และโรงงานเยื่อกระดาษเพื่อนําทุก
                  สวนของไมมาใชประโยชนและสงเสริมใหมีการใชวัสดุอื่นทดแทนไม

                                14)  ใหมีการปรับปรุงแกไขกฎหมาย  เพื่ออํานวยผลใหการรักษาและเพิ่มทรัพยากรปาไม
                  และการตัดฟนไมมาใชประโยชนไดอยางมีประสิทธิภาพ
                                15) ใหมีการตั้งสถาบันวิจัยปาระดับชาติ เพื่อดําเนินการวิจัยดานปาไม แลวนําผลการวิจัย
                  ไปใชประโยชน

                                16)  เพื่อลดการนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิง  จึงใหมีการใชไมเพื่อพลังงาน  โดยใหมีการปลูกปา
                  เพื่อเปนแหลงพลังงาน
                                17)  กําหนดพื้นที่ที่มีความลาดชันโดยเฉลี่ยรอยละ  35  ขึ้นไป  ไวเปนพื้นที่ปาไม  โดยไม

                  อนุญาตใหมีการออกโฉนดหรือหนังสือรับรองการทําประโยชนตามประมวลกฎหมายที่ดิน
   274   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284