Page 251 -
P. 251

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     2-118




                                        “4.2.1 เพิ่มความอุดมสมบูรณของฐานทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลาย
                  ทางชีวภาพโดยรักษาพื้นที่อนุรักษไวไมนอยกวารอยละ 19.0 เพิ่มพื้นที่ปาไมใหไดรอยละ 40.0 ของพื้นที่
                  ประเทศ และเพิ่มพื้นที่ปาชายเลนไมนอยกวาปละ 5,000 ไร”


                                ในสวนแนวทางการพัฒนาไดกําหนดไวในขอ 5 ดังนี้
                                5. แนวทางการพัฒนา
                                ปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม    สะทอนใหเห็นวาการ

                  พัฒนาประเทศในชวงที่ผานมาขาดความสมดุลและไมยั่งยืน  ขณะที่ประเทศไทยกําลังจะตองเผชิญกับความ
                  ทาทายที่สําคัญยิ่งในมิติของการพัฒนาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ  ดังนั้น  ในการกําหนดทิศทาง
                  ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศภายใตแผนพัฒนาฯ  ฉบับที่  11  จึงควรใหความสําคัญกับการอนุรักษและ
                  ฟนฟูดูแลฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม  ควบคูกับการใชอยางตระหนักรูคุณคา  บริหารจัดการ

                  อยางดี   สรางความเปนธรรม    ลดความเหลื่อมล้ําและความขัดแยงในการเขาถึงและการใชประโยชน
                  ทรัพยากร และคํานึงถึงตนทุน
                  สิ่งแวดลอมของประเทศ การปรับกระบวนทัศนการพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสูการเปนเศรษฐกิจและ
                  สังคมคารบอนต่ําและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การยกระดับขีดความสามารถในการรับมือและปรับตัวตอ

                  การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อใหสังคมมีภูมิคุมกัน การเตรียมความพรอมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติทาง
                  ธรรมชาติ การควบคุมและลดมลพิษเพื่อสรางคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีใหกับประชาชน และการพัฒนาระบบ
                  การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหมีประสิทธิภาพ  โปรงใสและเปนธรรม  รวมทั้งการ
                  สรางภูมิคุมกันดานการคาจากเงื่อนไขดานสิ่งแวดลอมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนการ

                  เพิ่มบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลกที่เกี่ยวของกับกรอบความตกลงและพันธกรณีดานสิ่งแวดลอม
                  ระหวางประเทศ ดังนี้
                                        5.1 การอนุรักษ ฟนฟู และสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ

                  สิ่งแวดลอม มีแนวทางหลัก ดังนี้
                                               5.1.1 คุมครอง ปองกัน รักษา ฟนฟูพื้นที่ปาไม และเขตอนุรักษ โดย
                  อนุรักษพื้นที่เปราะบางที่มีความสาคัญเชิงนิเวศ  สรางพื้นที่เชื่อมตอระหวางปา  วางระบบเพื่อแกไขปญหา
                  การบุกรุกถือครองที่ดินในพื้นที่ปาไม   โดยใหมีการจัดทาทะเบียนผูถือครองที่ดินในพื้นที่อนุรักษทั้งหมด
                  ดําเนินการพิสูจนสิทธิ์  และรวมมือกับผูมีสวนไดเสียจัดทําแนวเขตพื้นที่อนุรักษ  เพื่อใหเปนที่ยอมรับรวมกัน

                  ควบคุมการใชประโยชนพื้นที่ตนน้ําและการใชสารเคมีการเกษตรในพื้นที่ตนน้ําอยางเขมงวด   สงเสริม
                  เครือขายอนุรักษและปองกันการบุกรุกปาไม  โดยภาคประชาชนและชุมชน  สงเสริมหลักการชุมชนอยู
                  รวมกับปา การปลูกปา 3 อยาง ประโยชน 4 อยาง สงเสริมการจัดการปาชุมชน การฟนฟูและการปลูกปา

                  ในรูปแบบวนเกษตร      โดยใหความสาคัญกับพื้นที่ตนน้ําและพื้นที่รอยตอตามแนวเขตอนุรักษ   รวมทั้ง
                  สนับสนุนการปลูกตนไมและการปลูกปาอยางจริงจังโดยเฉพาะในระดับครัวเรือนและชุมชน  ภายใตแนวคิด
                  และกลไกสงเสริมที่เหมาะสม เชน ธนาคารตนไม หรือการปลูกตนไมใชหนี้ และใหมีการจัดทําแผนสงเสริม
                  การปลูกปาของประเทศที่สามารถขับเคลื่อนไดอยางเปนรูปธรรม   (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ

                  เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2554: 106-108)
   246   247   248   249   250   251   252   253   254   255   256