Page 256 -
P. 256

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     2-123




                         การดําเนินการ

                         แผนแมบทฉบับนี้ไดกําหนดแผนในระดับยุทธศาสตรของการพิทักษทรัพยากรปาไมของชาติและกล
                  ยุทธในการปฏิบัติเพื่อใหหนวยปฏิบัติใชเปนแนวทางในการวางแผนปฏิบัติการและการประสานงานของ

                  หนวยงานที่รับผิดชอบใหสอดคลองและเปนไปในแนวทางเดียวกัน โดย  “ยุทธศาสตรการพิทักษทรัพยากรปาไม”
                  แบงออกเปน 4 ประเด็นยุทธศาสตรและกําหนดกลยุทธในแตละประเด็นยุทธศาสตร รวม 17 กลยุทธดังนี้
                                1. ประเด็นยุทธศาสตร ผนึกกําลังปองกันและปราบปรามการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม

                                        1.1 กลยุทธ “หยุดยั้งการบุกรุกทําลายทรัพยากรธรรมชาติ”
                                        1.2 กลยุทธ “จัดตั้งหนวยเฉพาะกิจปองกันและปราบปรามการตัดไมทําลายปา”
                                        1.3 กลยุทธ “สงเสริมการมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการตัดไมทําลายปา”
                                        1.4 กลยุทธ “ยึดคืนพื้นที่ปา ยับยั้งการบุกรุกปา และแกปญหาปาบุกรุกคน โดย

                  ใชภาพถายทางอากาศเปนหลักฐานหลักรวมกับหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของ”
                                2. ประเด็นยุทธศาสตร ปลุกจิตสํานึกรักผืนปาของแผนดิน
                                        2.1 กลยุทธ “กําหนดใหการแกไขปญหาการบุกรุกตัดไมทําลายปาเปน วาระแหงชาติ”
                                        2.2 กลยุทธ “จัดตั้งองคกรแนวรวมภาคประชาชนเพื่อปลุกจิตสํานึก”

                                        2.3 กลยุทธ “ปลุกจิตสานึกใหเจาหนาที่มีความภาคภูมิใจในการปฏิบัติงาน”
                                3. ประเด็นยุทธศาสตร ปฏิรูประบบการพิทักษทรัพยากรปาไม
                                        3.1 กลยุทธ “ปรับปรุงระบบการพิทักษทรัพยากรปาไม”
                                        3.2 กลยุทธ “พิจารณาจัดตั้งหนวยงานดานการบริหารจัดการปาไมทั้งระดับ

                  จังหวัดและอําเภอ”
                                        3.3 กลยุทธ “จัดทําแนวเขตทรัพยากรปาไมทุกประเภทใหเปนแนวเดียวที่ชัดเจน”
                                        3.4 กลยุทธ “จําแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไม (Zoning)”

                                        3.5 กลยุทธ “ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เปนอุปสรรคในการพิทักษทรัพยากรปาไม”
                                4. ประเด็นยุทธศาสตร ฟนฟูและดูแลรักษาปาอยางยั่งยืน
                                        4.1 กลยุทธ “จัดระบบการดูแลรักษาทรัพยากรปาไมอยางยั่งยืนโดยการมีสวน
                  รวมกับประชาชน”
                                        4.2 กลยุทธ “จัดระบบการปลูกไมเศรษฐกิจของประเทศเพื่อทดแทนความ

                  ตองการและลดการบุกรุกตัดไมทาลายปา”
                                        4.3 กลยุทธ “ใหคนอยูกับปาพึ่งพากันอยางมีความสุข”
                                        4.4 กลยุทธ “เสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศในการฟนฟูและดูแลปาอยางยั่งยืน”

                                        4.5 กลยุทธ “สงเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรปาไม”

                                กลไกในการขับเคลื่อน และงบประมาณ
                                1. ใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนหนวยรับผิดชอบหลักในการ

                  ดําเนินการวางแผนโดยจัดทําแผนปฏิบัติการใหบรรลุตามเปาหมายและวัตถุประสงคของแผนแมบทฉบับนี้
                  โดยประสานการปฏิบัติงานกับคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการตัดไมทําลายปาแหงชาติ (คปป.)
                  และคณะกรรมการแกไขการบุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.)
   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261