Page 259 -
P. 259

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     2-126




                  หรือเกรงกลัวอิทธิพล รวมถึงเมื่อจะกระทําตามกฎหมายอยางเครงครัดกลับมีแรงเสียดทานจากสังคม ทําให
                  เกิดการละเลยตอการบังคับใชกฎหมาย ปญหาดังกลาวสงผลกระทบโดยตรงและโดยออมตอประเทศในวงกวาง
                                2. คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดศึกษาปญหาตามกรณีขอ 1 ทั้งระบบ ทั้งดานมาตรการปองกันการ

                  ทุจริต และมาตรการปองกันการบุกรุกพื้นที่ปาไม เพื่อไมกอใหเกิดปจจัยที่เอื้อตอการทุจริต โดยใชหลักความชอบ
                  ดวยกฎหมายของการกระทําทางปกครอง และทฤษฎีการบริหารธรรมาภิบาล (Good Governance) เปนกรอบ
                  แนวคิด รวมทั้งศึกษากฎหมาย กฎกระทรวงระเบียบและมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของ โดยมี 3 มาตรการหลัก คือ 1.)
                  มาตรการดานนโยบาย 2.) มาตรการดานบริหารจัดการ 3.) มาตรการดานกฎหมาย


                         วันที่  10  กุมภาพันธ  2558  คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ
                  (ฉบับที่ ….) พ.ศ. …. ที่สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลว ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
                  และสิ่งแวดลอม  (ทส.)  เสนอ  และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง  แลวสงให

                  คณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป
                                 ทส.  เสนอวา  เนื่องจากพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ  พ.ศ.  2507  ไดใชบังคับมาเปน
                  เวลานาน ปจจุบันสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ไดเปลี่ยนแปลงไป มีการใชสอยทรัพยากรธรรมชาติ
                  เพื่อการดํารงชีพและการเศรษฐกิจมากขึ้น  จึงจําเปนตองมีมาตรการในการควบคุมและการสงเสริมการอนุรักษ

                  และฟนฟู  เพื่อใหเกิดการใชสอยทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน  จําเปนตองปรับปรุงแกไขกฎหมายปาสงวน
                  แหงชาติใหเหมาะสมและทัน  ตอการเปลี่ยนแปลง
                                สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ
                                1. กําหนดใหในการจัดใหมีหลักเขตและปายหรือเครื่องหมายอื่นแสดงเขตปาสงวน

                  แหงชาติ ใหแจงองคกรปกครองสวนทองถิ่นและกํานันหรือผูใหญบานในทองที่ที่เขตปาสงวนแหงชาตินั้น
                  ตั้งอยูทราบดวย
                                2. กําหนดใหมีคณะกรรมการควบคุมและรักษาปาสงวนแหงชาติประจําจังหวัดเพื่อ

                  กําหนดมาตรการที่จําเปนในการควบคุม ดูแล และปองกันรักษาปาสงวนแหงชาติ ตลอดจนดูแลการสงเสริม
                  การปลูกปาและฟนฟูสภาพปาสงวนแหงชาติ รวมทั้งดําเนินการสอบสวนและวินิจฉัยคํารองเกี่ยวกับสิทธิ
                  หรือการไดทําประโยชนในเขตปาสงวนแหงชาติ
                                3. กําหนดใหมีคณะกรรมการพิจารณาการใชประโยชนในเขตปาสงวนแหงชาติ เพื่อ
                  เสนอแนะมาตรการและแนวทางในการใชประโยชนในเขตปาสงวนแหงชาติ พิจารณาใหความเห็นชอบใหใช

                  พื้นที่ในเขตปาสงวนแหงชาติ
                                4. กําหนดใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจในการยึดหรืออายัดบรรดาไม ของปา อุปกรณ
                  เครื่องมือ เครื่องใช สัตวพาหนะ ยานพาหนะ หรือเครื่องจักรกลใด ๆ ที่บุคคลไดมา หรือไดใชในการกระทํา

                  ความผิด และกําหนดวิธีดําเนินการเกี่ยวกับทรัพยสินและของกลางที่ยึดหรืออายัดไว
                                5. กําหนดอัตราโทษใหสอดคลองกับสภาพการณในปจจุบัน
                                6. กําหนดอัตราคาธรรมเนียม คาภาคหลวง และคาบํารุงปา ใหสอดคลองกับสภาพการณใน
                  ปจจุบัน

                         วันที่ 26 มีนาคม 2558 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติสงเสริมการบริหารจัดการทรัพยากร
                  ทางทะเลและชายฝง พ.ศ. 2558 ในราชกิจจานุเบกษา เลม 132 ตอนที่ 21 ก โดยความหมายของ
                  “ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง” รวมถึง ปาชายเลนและปาชายหาดดวย
   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264