Page 258 -
P. 258

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     2-125




                  พื้นที่แนวกันชนและที่ราบเชิงเขาใหเปนพื้นที่ยุทธศาสตรการปลูกปาเพื่อปองกันภัยพิบัติและปองกันการบุก
                  รุกปา  ขยายปาชุมชน  และสงเสริมการปลูกไมมีคาทางเศรษฐกิจในพื้นที่เอกชนเพื่อลดแรงกดดันในการตัด
                  ไมจากปาธรรมชาติ   รวมทั้งผลักดันแนวทางการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของระบบนิเวศและการ

                  สรางรายไดจากการอนุรักษ  เชน  โครงการปลูกปาเพื่อฟนฟูระบบนิเวศ  โครงการอนุรักษทรัพยากรปาไม
                  แบบมีสวนรวมจากทุกภาคสวน เปนตน
                                        9.2 สงเสริมการอนุรักษและใชประโยชนจากทรัพยากรชีวภาพและความ
                  หลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน คํานึงถึงขีดจํากัดและศักยภาพในการฟนตัว สรางโอกาสในการเขาถึง

                  และแบงปนผลประโยชนอันเกิดขึ้นจากการใชทรัพยากรพันธุกรรมอยางยุติธรรมและเทาเทียม เพื่อสราง
                  ความเปนอยูที่ดีของประชาชน ความมั่นคงทางดานอาหาร สุขอนามัย สนับสนุนวิถีชีวิตของชุมชน และการ
                  พัฒนาเพื่อสรางมูลคาทางเศรษฐกิจ รวมทั้งใหการคุมครองเพื่อใหเกิดความปลอดภัยทางชีวภาพ

                                        9.3 ในระยะตอไป พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดิน และแกไขการบุกรุกที่ดินของ
                  รัฐโดยยึดแนวพระราชดําริที่ใหประชาชนสามารถอยูรวมกับปาได เชน กําหนดเขตปาชุมชนใหชัดเจน พื้นที่
                  ใดที่สงวนหรือกันไวเปนพื้นที่ปาสมบูรณก็ใชมาตรการทางกฎหมายอยางเครงครัด   พื้นที่ใดสมควรให
                  ประชาชนใชประโยชนไดก็จะผอนผันใหตามความจําเปนโดยใชมาตรการทางการบริหารจัดการ  มาตรการ
                  ทางสังคมจิตวิทยา และการปลูกปาทดแทนเขาดําเนินการ ทั้งจะใหเชื่อมโยงกับการสงเสริมการมีอาชีพและ

                  รายไดอื่น    อันเปนบอเกิดของเศรษฐกิจชุมชนที่ตอเนื่องเพื่อใหคนเหลานั้นสามารถพึ่งพาตนเองไดตามหลัก
                  เศรษฐกิจพอเพียงโดยที่ดินยังเปนของรัฐจะจัดทําฐานขอมูลเพื่อการบริหารจัดการ จัดทําทะเบียนผูถือครอง
                  ที่ดินของรัฐ   ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการที่ดินของรัฐและเอกชนใหมีเอกภาพเพื่อทําหนาที่กําหนด

                  นโยบายดานที่ดินในภาพรวม  และปรับปรุงกลไกภาษีเพื่อกระจายการถือครองที่ดิน  เรงรัดการจัดสรรที่ดิน
                  ใหแกผูยากไรโดยไมตองเปนกรรมสิทธิ์  แตรับรองสิทธิรวมในการจัดการที่ดินของชุมชน  กําหนดรูปแบบที่
                  เหมาะสมของธนาคารที่ดินเพื่อใหเปนกลไกในการนําทรัพยากรที่ดินมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด  (สํานักงาน
                  เลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2557: 15-16)

                         วันที่ 3 กุมภาพันธ 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบเรื่องมาตรการปองกันการทุจริตและการบุก
                  รุกพื้นที่ปาไมของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ  (ป.ป.ช.)
                                สาระสําคัญของเรื่อง
                                สํานักงาน ป.ป.ช. รายงานวา

                                1.    ปจจุบันปญหาการบุกรุกพื้นที่ปาไมทวีความรุนแรงขึ้น   ทั้งที่เกิดจากการปลูกพืช
                  เชิงเดี่ยว เชน ขาวโพด มันสําปะหลัง ฯลฯ และพืชเศรษฐกิจ เชน ยางพารา และปาลมน้ํามัน ฯลฯ ของ
                  เกษตรกรในพื้นที่เองหรือมีผูมีอิทธิพลใหการสนับสนุนโดยการกวานซื้อที่ดินที่ชาวบานบุกรุกไวแลว  หรือใช

                  วิธีจางวานใหชาวบานบุกรุกพื้นที่  ทั้งเพื่อการเกษตรกรรมและการสรางที่พักอาศัยรีสอรท  มีการลักลอบทํา
                  ไม ตัดไมโดยเฉพาะอยางยิ่งไมพะยูง เพื่อสงขายประเทศเพื่อนบาน อยางประเทศเวียดนามและจีน ผานทาง
                  แมน้ําโขง  เนื่องจากไมพะยูงมีราคาสูง  สาเหตุที่สําคัญในการบุกรุกพื้นที่ปาไม  คือ  การที่กลไกหลักในการ
                  ปองกันไมใหเกิดปญหาการบุกรุกพื้นที่ปาไมขาดประสิทธิภาพ กลาวคือ การดําเนินงานของภาครัฐที่ผานมา

                  ขาดความเปนเอกภาพ  นโยบายขาดความชัดเจนและตอเนื่อง  หนวยงานที่รับผิดชอบขาดแคลนทรัพยากร
                  ทางการบริหาร  ทําใหไมสามารถใชอํานาจตามกฎหมายไดอยางเต็มที่ กฎหมายมีบทลงโทษต่ําและขาดการ
                  บังคับใชอยางมีประสิทธิภาพ  ตลอดจนเจาหนาที่ของรัฐบางสวนมีสวนรูเห็นในการกระทําความผิดทุจริต
   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263