Page 248 -
P. 248

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     2-115




                  เขตปาสงวนแหงชาติและเขตปลอดภัยทางทหาร  พื้นที่กลุมปาแกงกระจานจัดอยูในเขตนิเวศอินโดมาลายัน
                  (Indo-Malayan Ecoregion) กลุม Tenasserim-South Thailand semi-evergreen rain forests ชนิด
                  ปาที่ปกคลุมพื้นที่มากที่สุดคือปาดิบแลง ปกคลุมพื้นที่ถึงรอยละ 59 เปนแหลงตนน้ําของแมน้ําสําคัญ ไดแก

                  แมน้ําเพชรบุรี แมน้ําภาชี แมแมน้ําปราณบุรี และแมน้ํากุยบุรี
                                        2.4  การมีคุณคาความโดดเดนเปนสากล  :  เปนศูนยรวมความหลากหลายทาง
                  ชีวภาพที่สําคัญที่สุดแหงหนึ่งในเอเชีย  โดยพบชนิดพันธุสัตวอยางนอย  720  ชนิด  มีการกระจายพันธุจาก
                  ถิ่นอาศัยทางใตขึ้นไปจนถึงบริเวณเหนือสุด เชน ไกฟาหนาเขียว นกบั้งรอกปากแดง และนกปรอดสีน้ําตาล

                  ตาแดง  ปาดปาจุดขาว  และคางดํา  เปนตน  นอกจากนั้น  ยัง  เปนพื้นที่รอยตอระหวางเขตภูมิพฤกษ
                  (Floristic-provinces ) 4 ลักษณะเดน ไดแก (1) Indo-Burmese หรือ Himalayan (2) Indo-Malaysian
                  (3) Annamatic และ (4) Andamanese พบการปรากฏของพืชเฉพาะถิ่น เชน จําปเพชร ( Magnolia

                  mediocris  )  และจําปดอย  (M.gustavii)  ซึ่งราชอาณาจักรไทยพบเฉพาะในพื้นที่กลุมปาแกงกระจาน
                  เทานั้น เปนแหลงสําคัญของสัตวปาที่ใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (Critically Endangered) คือ จระเขน้ําจืด และ
                  ไดรับการประกาศเปนมรดกแหงอาเซียน เมื่อป พ.ศ. 2546
                                        2.5 เกณฑที่เหมาะสม : พื้นที่กลุมปาแกงกระจานตรงกับเกณฑ ขอที่ 10 คือ
                  “ถิ่นที่อยูอาศัยตาม ธรรมชาติที่มีความสําคัญตอการอนุรักษในถิ่นที่อยู (In-situ conservation ) ของความ

                  หลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงถิ่นที่อยูของชนิดพันธุที่ถูกคุกคามที่มีความโดดเดนเปนสากลทั้งจากมุมมอง
                  ของวิทยาศาสตรหรือการอนุรักษ”
                                        2.6 การเปรียบเทียบกับพื้นที่อื่นที่มีลักษณะคลายคลึงกัน : พื้นที่กลุมปาแกง

                  กระจานเปนเขตนิเวศ เดียวกันกับพื้นที่แหลงมรดกโลกทางธรรมชาติแหงแรกของไทย คือ เขตรักษาพันธุ
                  สัตวปาทุงใหญนเรศวร-หวยขาแขง แตตั้งอยูหางไปทางตอนใตของทุงใหญนเรศวร-หวยขาแขง ประมาณ
                  220 กิโลเมตร จึงทําใหมีความชุมชื้นมากกวามีสัดสวนของปาดิบแลงมากกวา และมีชนิดพันธุในเขต
                  Sundiac ที่หลากหลายกวา

                         วันที่ 1 กุมภาพันธ 2554  คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการเรื่อง ขอความเห็นชอบตอการจัดทํา
                  ปฏิญญาระดับรัฐมนตรีในการประชุมภาคีปาไมแหงสหประชาชาติ ครั้งที่ 9 (The Ninth Session of the
                  United Nations Forum on Forest : UNFF9)
                                คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการตอประเด็นเตรียมการสําหรับประกอบการพิจารณา

                  จัดทําปฏิญญาระดับรัฐมนตรีในการประชุม UNFF9 ซึ่งเสนอโดยสํานักงาน UNFF9 (Building Blocks for
                  the  UNFF9  Ministerial  Declaration  Proposed  by  the  UNFF9  Bureau)  ตามที่กระทรวง
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสนอ  และมอบหมายใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

                  และสิ่งแวดลอมพิจารณาใหการรับรองปฏิญญาระดับรัฐมนตรี  (Ministerial  Declaration)  ดังกลาว  ทั้งนี้
                  หากมีความจําเปนตองปรับปรุงแกไขเอกสารดังกลาวที่ไมใชสาระสําคัญหรือไมขัดตอผลประโยชนของไทย
                  สามารถดําเนินการไดโดย ไมตองนําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอีก
   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253