Page 243 -
P. 243

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     2-110




                                                  4.2.2.2 สภาพปญหาของพื้นที่ ประกอบดวย การบุกรุกตัดไม
                  ทําลายปา การลักลอบลา/คาสัตวปา และการบุกรุกแผวถางปาเพื่อเปลี่ยนแปลงเปนที่อยูอาศัยและทํากิน
                  ซึ่งกระทําการโดยราษฎรและนายทุน/ผูมีอิทธิพล

                                    โดยไดคัดเลือกพื้นที่เปาหมายที่เปนพื้นที่วิกฤต จํานวน 198 แหง ครอบคลุมพื้นที่ 30
                  จังหวัด ไดแก เชียงราย เชียงใหม แมฮองสอน ลําปาง ตาก แพร กําแพงเพชร อุทัยธานี ชัยภูมิ นครราชสีมา
                  บุรีรัมย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร  อุบลราชธานี  จันทบุรี  ฉะเชิงเทรา ตราด  ชุมพร  ประจวบคีรีขันธ  ระนอง
                  สุราษฎรธานี กาญจนบุรี กระบี่ ตรัง พังงา ภูเก็ต พัทลุง สตูล และสงขลา


                         วันที่ 7 กันยายน 2553 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบใหกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
                  กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ดําเนินการตามแนวทางเรื่องแผนแมบทการพัฒนาอุทยาน
                  แหงชาติเขาใหญ ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสนอ ดังนี้

                                1.    แนวทางการพัฒนาอุทยานแหงชาติเขาใหญยึดหลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
                  และสิ่งแวดลอม หลักการจัดการอุทยานแหงชาติ และหลักการดําเนินงานทางสถาปตยกรรม โดยสอดคลอง
                  กับการคุมครอง ปองกัน ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สงเสริมความงามทางธรรมชาติ และสนับสนุนการ
                  จัดการอุทยานแหงชาติ          ใหบรรลุวัตถุประสงคของการจัดตั้งอุทยานแหงชาติทั้งดานการอนุรักษ

                  ทรัพยากรธรรมชาติ  การศึกษาคนควาวิจัยทางธรรมชาติและการทองเที่ยว  พักผอนหยอนใจ  โดยสรางใน
                  พื้นที่เดิมอยางเปนหมวดหมู  สอดคลอง  สัมพันธ  เหมาะสมกับการใชประโยชนและกลมกลืนกับธรรมชาติ
                  ไมตั้งอยูในพื้นที่ธรรมชาติงายตอการถูกทําลายทั้งจากสิ่งกอสรางหรือจากการใชประโยชน  มีการจัดระบบ
                  ถนนใหสอดคลองและลดการใชรถยนต  สิ่งอํานวยความสะดวกที่ออกแบบ  ไดแก  ศูนยบริการนักทองเที่ยว

                  หองน้ํา รวม ลานจอดรถ รานคา บานพักแรม ถนน ทางเดิน การคมนาคม การจัดสาธารณูปโภค การกําจัดขยะ
                  การผลิตสื่อและซอมบํารุง
                                2. แนวทางการจัดการสิ่งอํานวยความสะดวกประเภทอาคารตองใหเหมาะสมสอดคลอง

                  ซึ่งกันและกัน และสอดคลองกับเขตการจัดการอุทยานแหงชาติเขาใหญ
                                3. แนวทางการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกดานคมนาคม ประกอบดวยการจัดเสนทาง
                  คมนาคมและการจัดการดานยานพาหนะ โดยยึดหลักใหมีการใชยานพาหนะนอยที่สุด ถนนกวางไมเกิน
                  6 เมตร ไหลทางกวางไมเกินขางละ 1 เมตร รองระบายน้ํากวางไมเกิน 80 เซนติเมตร ยานพาหนะจํากัด
                  ความเร็วไมเกิน 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง และมีความสูง ไมเกิน 3.50 เมตร จัดรถสาธารณะและสถานที่จอด

                  รถไวบริการนักทองเที่ยว บริเวณทางเขาทั้ง 2 ดาน และใชมาตรการ ทางการเงินในการควบคุมปริมาณรถ
                  เขาไปในอุทยานแหงชาติเขาใหญ
                                4. แนวทางการจัดการดานสาธารณูปโภค ไดแก น้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค และระบบ

                  ไฟฟาให แสงสวาง ดําเนินการใหไดมาตรฐานและงายตอการจัดการและการดูแลรักษา มีระบบปองกันการ
                  เกิดไฟฟาช็อตสัตว พัฒนาทางเลือกในการผลิตไฟฟา เชน จากพลังน้ํา พลังแสงอาทิตย เปนตน
                                5. แนวทางการจัดการดานการกําจัดขยะจัดการใหไดมาตรฐานทั้งระบบ มีการปองกัน
                  การรื้อคนขยะจากสัตวปา นําขยะที่เกิดออกนอกพื้นที่ทั้งหมดและนําหลักการผูกอมลพิษเปนผูจาย

                  (Polluters pay principle) และการระวังไวกอน (Precautionary principle) มาใช
                                6. แนวทางการจัดการดานการผลิตสื่อและซอมบํารุงจัดสถานที่ผลิตสื่อและหนวยซอม
                  บํารุงหลักไวที่เชิงเขาบริเวณหัวฝายใกลดานศาลเจาพออําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา
   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248