Page 242 -
P. 242

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     2-109




                                4. จากขอมูลสถานการณ/สภาพปญหาการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไมและปาชายเลน
                  ตลอดจนขอจํากัดในการดําเนินงานจะเห็นไดวา การบุกรุกตัดไมทําลายปา การลับลอบลา/คาสัตวปา
                  รวมถึงการบุกรุกแผวถางปาเพื่อเปลี่ยนแปลงเปนที่อยูอาศัยและทําการเกษตร ทําใหเกิดปญหาความขัดแยง

                  ในที่ดินยังคงเกิดขึ้นอยางตอเนื่องและมีแนวโนมที่สถานการณจะรุนแรงมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่วิกฤต
                  และยังรวมถึงพื้นที่ปาอนุรักษและปาสงวนแหงชาติทั่วไปก็มีแนวโนมที่จะเกิดปญหาการบุกรุกตัดไมทําลาย
                  ปา หากยังคงขาดแคลนอัตรากําลังเฝาระวังพื้นที่ ขาดแคลนยานพาหนะ อาวุธ เครื่องมือและอุปกรณ
                  สนับสนุนการปฏิบัติงาน ดังนั้น เพื่อเปนการแกไขปญหาการบุกรุกทําลายปาในพื้นที่วิกฤต ตลอดจนติดตาม

                  เฝาระวังไมใหมีการบุกรุกทําลายในพื้นที่ปาอนุรักษและปาสงวนแหงชาติทั่วไป ทส. จึงขอเสนอ "ยุทธการแกไข
                  ปญหาวิกฤตปาไมของชาติ" ดังนี้
                                        4.1 วัตถุประสงค

                                               4.1.1 เพื่อเฝาระวัง ติดตาม ตรวจสอบการบุกรุกทําลายทรัพยากรปาไม
                  ในระดับพื้นที่อยางเขมงวดโดยการจัดตั้งศูนยบัญชาการยุทธการแกไขปญหาวิกฤตปาไมของชาติใน
                  สวนกลาง และจัดตั้งศูนยปฏิบัติการยุทธการแกไขปญหาวิกฤตปาไมของชาติในพื้นที่วิกฤต และสนธิกําลัง
                  ลาดตระเวนอยางเขมขนทั้งทางภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ
                                               4.1.2 เพื่อดําเนินการกับผูกระทําความผิดกฎหมายปาไมตามแนวทาง/

                  ขอบเขตของกฎหมายโดยใชมาตรการควบคุม ตรวจสอบ และเรงรัดการดําเนินคดี
                                               4.1.3 เพื่อดําเนินการควบคุมพื้นที่ที่ถูกบุกรุกทําลายไมใหขยายพื้นที่
                  เพิ่มเติมโดยการปลูกทดแทนทันทีเพื่อฟนฟูสภาพปาใหกลับคืนความอุดมสมบูรณ

                                               4.1.4 เพื่อปองกันการบุกรุกตัดไมทําลายปาโดยสงเสริมกระบวนการมี
                  สวนรวมโดยสรางและขยายเครือขาย/แนวรวมการอนุรักษทรัพยากรปาไมใหเพิ่มขึ้น และฝกอบรมให
                  ความรู ตลอดจนประชาสัมพันธเผยแพรเพื่อสรางจิตสํานึกและความตระหนักในคุณคาของการอนุรักษ
                  ทรัพยากรปาไม

                                               4.1.5 เพื่อพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานปองกันรักษาปา
                  โดยจัดหายานพาหนะ เครื่องมือและอุปกรณในการปฏิบัติงาน ตลอดจนการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมทั้ง
                  การเพิ่มขีดความสามารถของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานปองกันรักษาปา เพื่อใหการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ
                  มากยิ่งขึ้น


                                         4.2 พื้นที่เปาหมาย
                                               4.2.1 พื้นที่ทั่วไป ประกอบดวย พื้นที่อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุ
                  สัตวปา ปาสงวนแหงชาติ และปาชายเลน

                                               4.2.2 พื้นที่วิกฤต ประกอบดวย พื้นที่อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุ
                  สัตวปา ปาสงวนแหงชาติ และปาชายเลน ที่ประสบภาวะวิกฤตและลอแหลมตอการถูกบุกรุกทําลาย โดยมี
                  เกณฑการพิจารณาพื้นที่วิกฤตใน 2 ดาน ดังนี้
                                                  4.2.2.1 ความสําคัญของพื้นที่ ประกอบดวย พื้นที่ปาตนน้ําลําธาร

                  พื้นที่อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา ปาสงวนแหงชาติ และปาชายเลน พื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาติ
                  พื้นที่ชุมน้ํา พื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง พื้นที่อยูอาศัยของสัตวปาทั่วไปรวมถึงสัตวปาหายาก
                  พื้นที่ที่มีไมเศรษฐกิจ และพื้นที่อันควรอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี (7 เมษายน 2552)
   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247