Page 227 -
P. 227

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-94




                  ผลหรือไมยืนตนและการใหความรู การสาธิต แกเกษตรกรบนพื้นที่สูง ในการทําเกษตรอินทรีย เพื่อใหเกิด
                  ความสมดุลระหวางการใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอยางยั่งยืน  การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดลอม และตองเปนที่ยอมรับของผูเกี่ยวของในพื้นที่

                         โดยพิจารณาดําเนินงานภายใน  20  จังหวัดเปาหมายตามแผนแมบทฯ  ฉบับที่  1  เปนอันดับแรก
                  และกําหนดขอบเขตของพื้นที่เตรียมการในลักษณะลุมน้ํายอย   ซึ่งครอบคลุมที่ดินทํากินของแตละกลุม
                  หมูบานเปาหมาย ทั้งนี้กลุมหมูบานเปาหมายพิจารณาตามโครงการดังนี้
                             1.  โครงการหมูบานปาไมแผนใหมตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา

                  พระบรมราชินีนาถ
                             2.  โครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคงพื้นที่ชายแดน ตามแนวพระราชทานของพระบาทสมเด็จ
                  พระเจาอยูหัว

                             3.  โครงการรวมมือไทย-พมา เพื่อพัฒนาหมูบานชายแดน (กองทัพภาคที่ 3)
                             4.  โครงการรักษน้ําเพื่อพระแมของแผนดิน
                             5.  พื้นที่เปาหมายตามยุทธศาสตรความมั่นคงชายแดน พ.ศ. 2550-254 ตามยุทธศาสตร การ
                  พัฒนาศักยภาพ คน ชุมชน และพื้นที่ชายแดนฯ

                         วันที่ 24 กรกฎาคม 2550  คณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการเรื่องรางพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ
                  (ฉบับที่  ..)  พ.ศ.  ....  ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสนอ  และใหสงสํานักงานคณะกรรมการ
                  กฤษฎีกาตรวจพิจารณา    โดยใหรับความเห็นของสวนราชการที่เกี่ยวของไปประกอบการพิจารณา   แลวสงให
                  คณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนนําเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณาตอไป

                           กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสนอวา เนื่องจากพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ
                  พ.ศ.  2507  ไดใชบังคับมาเปนเวลานาน  ไมทันกับสภาวะเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป  รวมถึงการ
                  เพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร  ทําใหเกิดความตองการที่ดินเพื่ออยูอาศัยและทํามาหากินเพิ่มขึ้นตามไปดวย

                  ในขณะที่หนวยงานของรัฐยังไมสามารถจัดที่ดินทํากินสนองความตองการไดทัน  อีกทั้งทรัพยากรธรรมชาติ
                  หลายประเภทกลายเปนสิ่งที่มีคุณคาและมีราคาในการซื้อขาย      เปนเหตุใหเกิดการบุกรุกเขายึดถือ
                  ครอบครองพื้นที่เขตปาสงวนและใชสอยทรัพยากรธรรมชาติอยางไรขอบเขตและขาดการทดแทน  ประกอบ
                  กับไดมีการปรับเปลี่ยนสวนราชการและโครงสรางการบริหารราชการของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของในการ
                  บังคับใชกฎหมาย  จําเปนตองปรังปรุงแกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวกับปาสงวนแหงชาติฯ  ใหทันสมัย  เพื่อ

                  เปนเครื่องมือที่เอื้ออํานวยตอการบริหารจัดการ        และดูแลรักษาปาสงวนแหงชาติใหเกิดประโยชนสูงสุด
                  จึงไดเสนอรางพระราชบัญญัติดังกลาว มาเพื่อดําเนินการรางพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ (ฉบับที่ ..)
                  พ.ศ. .... มีสาระสําคัญเปนการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 โดยเปด

                  โอกาสใหชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการดูแลรักษาปา ปรับปรุงบัญชีอัตราคาธรรมเนียม คาภาคหลวง
                  และคาบํารุงปาใหสอดคลองกับสภาวการณปจจุบัน

                         วันที่ 24 กรกฎาคม 2550  คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการเรื่องแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไม

                  ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมเสนอ และใหประสานสํานักงบประมาณดําเนินการ
                  จํานวน 3 โครงการ คือ
   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232