Page 230 -
P. 230
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2-97
ตามความในพระราชบัญญัติดังกลาว ดังนั้น องคกร สวนราชการ หรือหนวยงานตางๆ จะขออนุญาตกอสรางถนน
โดยอาศัยการเปนผูสนับสนุนทางดานงบประมาณ หรือการกอสรางแกพนักงานเจาหนาที่ตามขอกฎหมายขางตน
ซึ่งก็คือ ใหเจาหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืชเปนผูดําเนินการกอสรางถนน
4. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดกําหนดแนวทางปฏิบัติใหกรมอุทยาน
แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชถือปฏิบัติในการพิจารณาการกอสรางถนนในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติและ
เขตรักษาพันธุสัตวปาเพื่อจะคุมครองดูแลรักษาพื้นที่สัตวปาและทรัพยากรธรรมชาติของชาติอื่น ๆ ใหคงอยู
มิใหถูกทําลายหรือเปลี่ยนแปลงไป เพื่อประโยชน ทั้งทางตรงและทางออมแกสาธารณชน ดังนี้
4.1 หามมิใหตัดถนนเพื่อเปนทางสัญจรสาธารณะขึ้นใหม
4.2 เสนทางสาธารณะเดิมที่มีอยูแลว ไมใหขยายชองจราจร โดยใหปรับปรุงผิว
จราจร หรือ การชะลอความเร็วแทน
4.3 การปรับปรุงผิวจราจร ใหทําไปเพื่อความปลอดภัยในการจราจรเปนหลัก
และใหพิจารณาเปนกรณี ๆ ไป
4.4 การพัฒนาถนนเพื่อประโยชนในการคุมครองดูแลรักษาพื้นที่ หรือการศึกษา
หรือการวิจัย หรือการทองเที่ยว ใหทําเทาที่จําเปนเทานั้น โดยคํานึงถึงผลกระทบและการทองเที่ยวเชิงนิเวศ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จึงขอเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา
วันที่ 18 กุมภาพันธ 2551 นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี ไดแถลงนโยบายของรัฐบาลคณะที่ 57
ตอรัฐสภา โดยมีสวนที่เกี่ยวของกับปาไมในนโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในขอ 4.3 ดังนี้
ในขอ 4.3 ดังนี้
“4.3 อนุรักษทรัพยากรดินและปาไม โดยการยุติการเผาไรนาและทําลายหนาดิน การ
ลดการใชสารเคมีเพื่อการเกษตร รวมทั้งการฟนฟูดินและปองกันการชะลางทําลายดิน โดยการปลูก
หญาแฝกตามแนวพระราชดําริ รวมทั้งมีการกระจายและจัดการกรรมสิทธิ์ที่ดินอยางเปนธรรม อนุรักษ
และปองกันรักษาปาที่สมบูรณ สนับสนุนใหมีการปลูกและฟนฟูปาตามแนวพระราชดําริ สนับสนุนการ
จัดการปาชุมชนและสงเสริมการปลูกไมเศรษฐกิจในพื้นที่ที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ และการ
สนับสนุนบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการน้ํา เชน การทําฝายตนน้ําลําธารหรือฝายชะลอน้ํา
ตามแนวพระราชดําริ” (สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2551ก: 9)
วันที่ 29 เมษายน 2551 คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเรื่อง
รายงานสถานการณทรัพยากรปาไมของประเทศ โดยมีสาระสําคัญดังนี้
ในอดีต ประเทศไทยเปนประเทศที่มีทรัพยากรปาไมอุดมสมบูรณ โดยป 2504 มีพื้นที่ที่
มีสภาพปา 171 ลานไร หรือรอยละ 53 ของพื้นที่ประเทศ ปจจุบันเหลือพื้นที่ที่มีสภาพปา 104.7 ลานไร
หรือรอยละ 32 ของพื้นที่ประเทศ โดยเปนพื้นที่ที่มีสภาพปาในเขตปาตามกฎหมาย (ปาอนุรักษและปา
สงวนแหงชาติ) 92.9 ลานไร และพื้นที่ที่มีสภาพปานอกเขตปาตามกฎหมาย 11.8 ลานไร เนื่องจาก
ทรัพยากรปาไมมีบทบาทสําคัญทางดานเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอมของประเทศ การลดลงและเสื่อม
โทรมของทรัพยากรปาไม ทําใหเกิดปญหาและผลกระทบที่สําคัญ ไดแก (1) การขาดแคลนน้ําในภาคเกษตร
และอุตสาหกรรม (2) การขาดแหลงไมใชสอยในประเทศ (3) ชุมชนทองถิ่นขาดแหลงอาหาร ยาและรายได
(4) ความขัดแยงในที่ดินทํากิน และ (5) ภาวะโลกรอนและภัยธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น