Page 232 -
P. 232

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-99




                                กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.) รายงานวา
                                1.  นโยบายของอดีตรัฐบาล  พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ  ชินวัตร  เมื่อวันที่  23  มีนาคม  2548
                  มอบหมายให ทส. รับผิดชอบการจัดการใหประเทศไทยมีแผนที่ประเทศมาตราสวน 1 : 4,000 เพื่อแกไข

                  ปญหาขอขัดแยงเรื่องแนวเขตที่ดินของรัฐกับที่ดินเอกชนและระหวางหนวยงานของรัฐ โดย ทส. ไดกําหนด
                  แนวทางการปรับปรุงแนวเขตพื้นที่ปาไม 68 จังหวัด โดยแบงการดําเนินงานออกเปน 4 ขั้นตอน ไดแก
                                    1.1  ขั้นตอนที่หนึ่ง  ทุกหนวยงานที่เกี่ยวของจะรวมกันตรวจสอบขอมูลและปรับปรุง
                  แนวเขตที่ดินของรัฐในความรับผิดชอบใหไมทับซอนกัน  ซึ่งการปรับปรุงแนวเขตปาไมสามารถดําเนินงาน

                  ปรับปรุงเขตพื้นที่ปาไมแลวเสร็จ 83,368 ระวาง จากระวางที่ตองปรับปรุง 85,010 ระวาง คิดเปนรอยละ
                  98.07 ของเปาหมาย โดยจะแลวเสร็จในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 จํานวน 65 จังหวัด (ยกเวนจังหวัดยะลา
                  นราธิวาส ปตตานี ไมมีแผนที่มาตราสวน 1 : 4,000 จึงไมสามารถปรับปรุงแนวเขตพื้นที่ปาไมได)

                                    1.2 ขั้นตอนที่สอง ดําเนินการปกหมุดหมายแนวรังวัดหาคาพิกัดประจําหมุดทุกระยะ
                  200 เมตร และทุกจุดที่แนวเขตเปลี่ยนทิศทาง
                                    1.3 ขั้นตอนที่สาม เปนขั้นตอนการแกไขกฎหมายและแผนที่
                                    1.4  ขั้นตอนที่สี่  เปนการรังวัดปกหลักเขตเพื่อแสดงขอบเขตที่ดินของรัฐ  โดย  ทส.
                  ไดรับงบประมาณป  พ.ศ.  2549-2551  ใหดําเนินการขั้นตอนที่หนึ่ง  ภายใตโครงการสํารวจจัดทําแนวเขต

                  และฐานขอมูลทรัพยากรที่ดินของรัฐ  โดยมีเปาหมายเพื่อปรับปรุงแนวเขตที่ดินของรัฐในความรับผิดชอบ
                  ของหนวยงานของรัฐที่มีแนวเขตรับผิดชอบทับซอนกัน      ใหมีแนวเขตที่ชัดเจนตามภารกิจของแตละ
                  หนวยงาน ดังนั้น เพื่อใหประเทศไทยมีแผนที่ประเทศมาตราสวน  1 : 4,000 ที่แสดงเขตที่ดินทุกประเภท

                  เหลือเพียงแนวเดียว สามารถบังคับใชไดทางกฎหมาย จึงมีความจําเปนที่ ทส.จะตองดําเนินการโครงการปก
                  หมุดหมายแนวรังวัดในเขต  พื้นที่ปาไมตามขั้นตอนที่สอง  เพื่อปกหมุดหมายแนวเขตพื้นที่ปาไมใหมีความ
                  ชัดเจน  พรอมรังวัดหาคาพิกัดประจําหมุดกอนนําผลไปสูขั้นตอนการแกไขกฎหมายและขั้นตอนการรังวัด
                  ปกหลักเขตเพื่อแสดงขอบเขตที่ดินของรัฐอันจะแกไขปญหาที่ดินทํากินยุติการบุกรุกที่ดินใชเปนขอมูลเพื่อ

                  การบริหารจัดการและแกปญหาทรัพยากรที่ดินปาไมไดอยางยั่งยืนตอไป

                             2. สาระสําคัญของโครงการฯ
                                2.1 วัตถุประสงค
                                    2.1.1 เพื่อปกหมุดหมายแนวรังวัดหาคาพิกัดประจําหมุดแนวเขตพื้นที่ปาไมจํานวนไม

                  นอยกวา 375,000 จุด
                                    2.2.2 เพื่อจัดทําแผนที่ตนฉบับมาตราสวน 1 : 4,000 และมาตราสวน 1 : 50,000
                  แสดงแนวเขตพื้นที่ปาไมตามกฎหมาย พรอมบัญชีคาพิกัดแนวเขต

                                2.2 พื้นที่เปาหมาย พื้นที่ปาไมตามกฎหมายใน 65 จังหวัด ยกเวน จังหวัดยะลา นราธิวาส
                  ปตตานี ที่ไมดําเนินการเนื่องจากไมมีแผนที่มาตราสวน 1 : 4,000 สําหรับใชในการปรับปรุงแนวเขตพื้นที่ปาไม
                                2.3 ระยะเวลาดําเนินงาน กําหนดระยะเวลาการดําเนินงานตามโครงการ 1 ป โดยกรม
                  อุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และกรมปาไม

                                ทั้งนี้  กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพิจารณาแลวเห็นวา  โครงการปกหมุด
                  หมายแนวรังวัดในเขตพื้นที่ปาไมมีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  10
                  (พ.ศ. 2551-2554) โดยเฉพาะในประเด็นยุทธศาสตรการสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237