Page 236 -
P. 236

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     2-103




                         วันที่ 14 ตุลาคม 2551 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบเรื่อง แนวทางการแกไขปญหาที่ดิน 3 จังหวัด
                  ชายแดนภาคใต ในพื้นที่บริเวณอุทยานแหงชาติ บูโด-สุไหงปาดี (ศจพ.)
                                คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่ศูนยอํานวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตาม

                  ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ศจพ.) เสนอ ดังนี้
                                1. เห็นชอบแนวทางการตัดโคนยางพาราที่หมดอายุเพื่อปลูกใหมทดแทนในสัดสวนไมเกิน
                  รอยละ 4 ของพื้นที่ปญหาที่ดินเพื่อไมใหกระทบตอสิ่งแวดลอม และจัดใหมีกลไกการทํางาน ซึ่ง
                  ประกอบดวย นายอําเภอ ผูแทนอุทยาน ผูแทนสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 4 สํานักงานกองทุนสงเคราะห

                  ยางพารา และผูแทนชุมชนเปนผูพิจารณารวมกัน
                                2.  เห็นชอบใหหนวยงานที่เกี่ยวของเรงรัดการแกไขปญหาเอกสารสิทธิราษฎรผูเดือดรอน
                  ในเขตอําเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ที่ไดมีการจัดทําขอมูลและตรวจสอบขอมูลรวมกันเรียบรอยแลว ดังนี้

                                    2.1 ใหกรมที่ดินเรงรัดตรวจสอบและออกเอกสารสิทธิโดยเดินสํารวจออกโฉนด
                  ใหกลุมที่ดินที่อยูนอกเขตอุทยานและนอกเขตปาสงวนแหงชาติ  745  ราย  994  แปลง  จํานวน
                  ประมาณ 4,116 ไร
                                    2.2  ใหดําเนินการพิสูจนสิทธิที่ดินของราษฎรที่อยูในที่ดินที่อยูในเขตอุทยาน  (สวนที่
                  นอกเขตปาสงวน) จํานวน 795 ราย 1,108 แปลง 4,942 ไร และที่ดินที่อยูในเขตปาสงวนแหงชาติ 322

                  แปลง 2,439 ไร ที่ไดมีการจัดทําขอมูลและแผนที่รายแปลงแลว โดยใหอําเภอแตงตั้งคณะกรรมการพิสูจน
                  สิทธิในการถือครองที่ดินของราษฎรระดับอําเภอ  ซึ่งมีองคประกอบจากทุกฝายที่รวมกันจัดทําขอมูลแกไข
                  ปญหาที่ดิน และใชขอมูลเปนที่ยอมรับรวมกันแลว เปนฐานในการพิสูจนสิทธิ ซึ่งในกรณีพิสูจนไดชัดเจนวา

                  มีการถือครองกอนการประกาศเปนเขตปาสงวนแหงชาติ ป 2508 และประกาศเปนเขตปาอุทยานแหงชาติ
                  ป  2542  และมีการทําประโยชนในที่ดินตอเนื่องใหมีการดําเนินการกันพื้นที่ทํากินออกจากเขตปาสงวน
                  แหงชาติ และเขตอุทยานแหงชาติตามกฎหมายนั้นโดยเรงดวน
                                    2.3 ใหเรงรัดการแกไขปญหาตามแนวทางที่อําเภอบาเจาะไดดําเนินการในพื้นที่

                  บริเวณอุทยานบูโด-สุไหงปาดี อีก 8 อําเภอที่ยังไมไดดําเนินการ โดยใหสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
                  และภูมิสารสนเทศสนับสนุนภาพถายดาวเทียม (Digital File) มอบใหคณะอนุกรรมการแกไขปญหาที่ดิน
                  ศจพ.เพื่อใชในการแกไขปญหาใหครอบคลุมพื้นที่ปญหาที่ดินสามจังหวัดชายแดนภาคใต
                                ทั้งนี้ ใหประสานกรมทรัพยากรธรณีและองคการอุตสาหกรรมปาไมในการดําเนินการที่

                  เกี่ยวของดวย

                         วันที่ 25 พฤศจิกายน 2551 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบเรื่องรางพระราชกฤษฎีกากําหนดบริเวณที่ดิน
                  ปาภูลังกา ในทองที่ตําบลดงบัง ตําบลโพธิ์หมากแขง อําเภอบึงโขงหลง จังหวัดหนองคาย และตําบลไผลอม

                  ตําบลนางัว ตําบลโพนทอง อําเภอบานแพง ตําบลหนองซน อําเภอนาทม จังหวัดนครพนม ใหเปนอุทยาน
                  แหงชาติ  พ.ศ.  ....  (อุทยานแหงชาติภูลังกา)  ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสนอ  และให
                  ดําเนินการตอไปได
                                กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดพิจารณารางพระราชบัญญัติกําหนด

                  บริเวณที่ดินปาภูลังกา ในทองที่ตําบลดงบัง ตําบลโพธิ์หมากแขง อําเภอบึงโขงหลง จังหวัดหนองคาย และ
                  ตําบลไผลอม ตําบลนางัว ตําบลโพนทอง อําเภอบานแพง ตําบลหนองซน อําเภอนาทม จังหวัดนครพนม
                  ใหเปนอุทยานแหงชาติ  พ.ศ.  ....  (อุทยานแหงชาติภูลังกา)  ที่สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ
                  พิจารณาเสร็จแลว  เห็นชอบดวย  และจะไดดําเนินการตามขอสังเกตของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241