Page 226 -
P. 226

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-93





                              แนวทางการดําเนินงาน ภายหลังสิ้นสุดแผนแมบทเพื่อการพัฒนาชุมชน สิ่งแวดลอม และควบคุมพืช
                  เสพติดบนพื้นที่สูง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2545-2549) ของกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ มีดังนี้
                                ตามแผนแมบทเพื่อการพัฒนาชุมชน  สิ่งแวดลอม  และการควบคุมพืชเสพติดบนพื้นที่สูง

                  ระยะที่  3  (พ.ศ.  2545-2549)  ไดกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาและจัดการเรื่องที่อยูอาศัยและที่ทํากินบน
                  พื้นที่สูง โดยมีแนวทาง การดําเนินงานดังนี้
                                1. การจัดการพื้นที่ดินทํากินและที่อยูอาศัยบนพื้นที่สูง

                                        -   เรงรัดดําเนินการพิสูจนสิทธิการครอบครองที่ดินของราษฎรในพื้นที่ปาไมใน
                  หมูบานที่จัดตั้งอยางถูกตองตามกฎหมายแลว  และกลุมบานที่มีคุณสมบัติที่จะดําเนินการแยกเปนหมูบานที่
                  ถูกตองตามกฎหมาย โดยใหมีการกําหนดขอบเขตการใชพื้นที่อยางชัดเจน ทั้งนี้เพื่อมุงเนนการใชพื้นที่อยาง
                  มีประสิทธิภาพตลอดจนปองกันและปราบปรามการบุกรุกขยายพื้นที่อยางเด็ดขาด   สําหรับกลุมบานบน

                  พื้นที่สูงที่ไมอนุญาตใหจัดตั้งเปนหมูบานไดนั้น ใหกําหนดแนวทางการดําเนินงานไว 3 แนวทางคือ การยาย
                  ออกจากพื้นที่ การรวมกลุมใหม และการใหอยูชั่วคราว
                                        - หมูบานชุมชนบนพื้นที่สูงที่ไดรับการจัดตั้งเปนหมูบานถูกตองตามกฎหมายแลว
                  ใหมุงเนนการประสานและสงเสริมการสรางเครือขายองคกรประชาชนในการอนุรักษจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

                  และสิ่งแวดลอม  บนพื้นที่สูง  โดยใชแนวทางการอยูรวมกันของคนกับปา  เพื่อลดความขัดแยงในการใช
                  ทรัพยากรบนพื้นที่สูง

                                2. การพัฒนา

                                    -  หมูบานที่จัดตั้งอยางถูกตองตามกฎหมายแลว  และกลุมบานชุมชนบนพื้นที่สูงที่มี
                  คุณสมบัติครบถวนในการแยกเพื่อจัดตั้งเปนหมูบานที่ถูกตองตามกฎหมายใหดําเนินการพัฒนาเศรษฐกิจ
                  และสังคมตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่  โดยมุงเนนใหความสําคัญกับการนําภูมิปญญาพื้นบานของ
                  ประชาชนบนพื้นที่สูงเปน  แนวทางในการพัฒนาและเตรียมความพรอมของชุมชนเพื่อนําเขาสูการพัฒนา

                  ตามระบบปกติ สําหรับกลุมบานที่ไมมีศักยภาพในการจัดตั้งเปนหมูบานตามกฎหมาย ใหจัดการบริการทาง
                  สังคมขั้นพื้นฐาน  โดยใหการศึกษา  สาธารณสุข  และพัฒนาอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม  เพื่อใหประชากรมี
                  รายไดเพียงพอตอการดํารงชีพและสามารถพึ่งตนเองได  ตลอดจนสรางโอกาสใหประชากรบนพื้นที่สูงเขาสู
                  ตลาดแรงงานในอนาคต เพื่อไมกอใหเกิดการสรางถิ่นฐานถาวรในพื้นที่

                                    -  สงเสริมใหมีการฝกอบรมและประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตรแกประชาชนบน
                  พื้นที่สูง  ในกลุมคนรุนใหม  เพื่อเปดโอกาสและจูงใจใหไปประกอบอาชีพนอกพื้นที่  ตลอดจนสงเสริมและ
                  พัฒนาอาชีพอื่นๆ เชน การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ
                                    สรุปผลการดําเนินงานของกรมพัฒนาที่ดิน ภายใตแผนแมบทฯ ที่ผานมา ในดานการ

                  จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ํา  สามารถดําเนินการครอบคลุมในพื้นที่  14  จังหวัด  ไดแก  จังหวัดเชียงใหม
                  เชียงราย นาน แมฮองสอน ตาก ลําปาง พะเยา พิษณุโลก กําแพงเพชร เพชรบูรณ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี
                  ราชบุรี และจังหวัดเลย ซึ่งมีพื้นที่ที่ไดดําเนินการจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ํา รวมเนื้อที่ 52,894 ไร

                         การดําเนินงานภายหลังสิ้นสุดแผนแมบทฯ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2545-2549)
                         กรมพัฒนาที่ดินซึ่งมีภารกิจหลักในการดําเนินการเรื่องการอนุรักษดินและน้ํา   ไดเตรียมจัดทํา
                  แผนงานพรอมกรอบงบประมาณ  เพื่อการดําเนินงานจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําบริเวณพื้นที่ทํากินของ
                  ชุมชนบนพื้นที่สูง  ที่มีความเสี่ยงตอการเกิดการชะลางพังทลายของดิน  พรอมกับการสนับสนุนการปลูกไม
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231